พระบรมสารีริกธาตุ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ส่วนหนึ่งของ ประวัติพุทธศาสนา |
|
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา | |
เพื่อความดับทุกข์ · นิพพาน |
|
ใจความสำคัญของพุทธศาสนา | |
ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส |
|
ไตรสรณะ | |
ความเชื่อและการปฏิบัติ | |
ศีล · ธรรม ศีลห้า · ศีลแปด บทสวดมนต์และพระคาถา |
|
คัมภีร์และหนังสือ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก |
|
นิกาย | |
เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน | |
สังคมพุทธศาสนา | |
เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล | |
ดูเพิ่มเติม | |
ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา หมวดหมู่พุทธศาสนา |
พระบรมสารีริกธาตุ คือ พระอัฐิธาตุ(กระดูก ฟัน และ เถ้า) ที่เหลือของสมเด็จพระสัมมาพุทธเจ้าหลังจากการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของพระพุทธองค์ที่เมืองกุสินารา
[แก้] จำนวนพระบรมสารีริกธาตุ
- ส่วนของพระบรมสารีริกธาตุที่ตั้งอยู่ทั้งแท่งไม่ได้ถูกทำลาย มีพระอุณหิส 1 องค์ พระเขี้ยวแก้ว 4 องค์ และพระรากขวัญ 2 องค์
- พระบรมสารีริกธาตุที่แตกทำลายมีจำนวนทั้งหมด 16 ทะนาน
[แก้] ลักษณะ
- คล้ายเม็ดถั่วแตก
- กลมเหมือนเมล็ดถั่ว
- คล้ายข้าวสารหัก
- คล้ายเมล็ดพันธุผักกาด
[แก้] อ้างอิง
- พระปฐมสมโพธิกถา พระนิพนธ์สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส
พระบรมสารีริกธาตุ เป็นบทความที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ พระบรมสารีริกธาตุ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |