เชื้อเพลิงชีวภาพ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) เป็น เชื้อเพลิง ที่ได้จาก ชีวมวล ซึ่งเป็น สิ่งมีชีวิต หรือ ผลิตผลจากการสร้างและสลายของสิ่งมีชีวิต (metabolic byproducts) เช่นมูลวัว มันเป็น พลังงานทดแทน (renewable energy) ไม่เหมือนพลังงานจาก แหล่งธรรมชาติ อื่น เช่น ปิโตรเลียม ถ่านหิน และ เชื้อเพลิง นิวเคลียร์
สารบัญ |
[แก้] การจัดกลุ่มเชื้อเพลิงชีวภาพ
[แก้] ประเภทของแข็ง
เชื้อเพลิงชีวภาพประเภทของแข็งประกอบด้วย:
- ไม้ ดู เชื้อเพลิงไม้
- ฟาง และพืชแห้งอื่นเช่น หญ้า (Miscanthus)
- ของเสียจากสัตว์ เช่น มูลสัตว์ปีก (poultry) หรือ มูลวัวควาย (dungs)
- พืชผัก เช่น ข้าวโพด ข้าว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง และ ฝ้าย
[แก้] ประเภทของเหลว
เชื้อเพลิงชีวภาพประเภทของเหลวประกอบด้วย:
- ชีวแอลกอฮอล์ — ดู เชื้อเพลิงแอลกอฮอล์
- ผลิตภัณฑ์น้ำมันทางชีวภาพ (น้ำมันชีวภาพ) สามารถใช้ได้ในเครื่อง ดีเซล:
- น้ำมันและก๊าซสามารถผลิตได้จากของเสียต่างๆ ได้ดังนี้:
- การสลายพอลิเมอร์โดยใช้ความร้อน สามารถสกัด มีเทน และน้ำมันที่คล้าย ปิโตรเลียม จากของเสียได้
- มีเทน และน้ำมันสามารถสกัดได้จากบ่อ กำจัดขยะมูลฝอยแบบฝังกลบ (landfill)และ น้ำเสียที่เกิดจากขยะ (leachate)
[แก้] ประเภทของก๊าซ
- ไบโอ-มีเทน เกิดจากการสลายตัวตามธรรมชาติของ ของเสีย หรือ ขยะมูลฝอย จากการเกษตรที่รวบรวมกันแล้วสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้
- จะต้องมีสัตว์จำนวนมากพอที่จะทำให้เกิด ก๊าซชีวภาพ เพียงพอสำหรับการขับเครื่องยนต์ เครื่องคำนวณก๊าซชีวภาพ
- ก๊าซไม้ สามารถสกัดได้จาก ไม้ และสามารถใช้ในเครื่องยนต์ได้
- ไฮโดรเจน ผลิตได้จาก น้ำ โดย อิเล็กโตรไลสิส (electrolysis) หรือ โดย การแตก ของเชื้อเพลิง ไฮโดรคาร์บอน ใน ไฮโดรเจนรีฟอร์เมอร์ และโดยกระบวนการหมัก
- ก๊าซสิฟิเคชัน (Gasification) ที่ได้ผลผลิตออกมาคือ คาร์บอนโมนอกไซด์ (carbon monoxide)
[แก้] ประเภทอื่นๆ
[แก้] พลังงานที่มีในเชื้อเพลิงชีวภาพ
fuel type | Specific Energy Density (MJ/kg) |
Volumetric Energy Density (MJ/l) |
---|---|---|
Solid Fuels | ||
เชื้อเพลิงไม้ | 16 – 21 | |
พืชแห้ง | ||
ของเสียจากสัตว์ | ||
Chaff | ||
Bagasse | 9.6 | |
Liquid Fuels | ||
เมทานอล | 19.9 – 22.7 | 15.9 |
เอทานอล | 23.4 – 26.8 | 23.4 |
บิวทานอล | 36.0 | 29.2 |
น้ำมันพืช | ||
ไบโอดีเซล | 37.8 | 33.3 – 35.7 |
Gaseous Fuels | ||
มีเทน | 55 – 55.7 | Compression Dependent |
ไฮโดรเจน | 120 – 142 | Compression Dependent |
Fossil Fuels (comparison) | ||
ถ่านหิน | 29.3 – 33.5 | |
แก๊ซโซลีน | 45 – 48.3 | 32 – 34.8 |
ดีเซล | 48.1 | 40.3 |
ก๊าซธรรมชาติNatural Gas | 38 – 50 | Compression Dependent |
[แก้] ดูเพิ่ม
- alcohol as a fuel
- Biomass to Liquid
- biodiesel
- elephant grass
- Switch grass
- environmentalism
- pyrolysis
- thermal depolymerization
- waste vegetable oil
[แก้] อ้างอิง
- Biomass Technical Brief, Simon Ekless, Intermediate Technology Development Group, retrieved 1 January 2005 from http://www.itdg.org/docs/technical_information_service/biomass.pdf.
- Smoke — the killer in the kitchen, Intermediate Technology Development Group, 19 March 2004, retrieved 1 January 2005 from http://www.itdg.org/?id=smoke_report_1
- Reducing exposure to indoor air pollution, Intermediate Technology Development Group, 19 March 2004, retrieved 1 January 2005 from http://www.itdg.org/?id=smoke_report_3
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
- Research project "Bioenergy Village" in Germany
- Educational Web Site on Biomass and Bioenergy This educational web site created by
- IEA Bioenergy Task 29 has the aim to inform you about the oldest source of energy used by men.
- emissions to biofuels
- www.biofuel.be
- Babington Vegetable Oil Burner
- GoodGrease.com | WVO SVO Biodiesel Biofuel Resource News
- http://www.journeytoforever.org
- BBC2 Newsnight video coverage on BioGas
- If you want to contribute more on a technical basis more...
การพัฒนาและความยั่งยืนของพลังงาน แก้ไข | |
---|---|
การผลิตพลังงาน (Energy production) | แอคตีฟโซลาร์ | ไบโอแอลกอฮอล์ | ไบโอดีเซล | เชื้อเพลิงชีวภาพ | ก๊าซชีวภาพ | ชีวมวล | ดีปเลควอเตอร์คูลลิ่ง | การผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า | การผลิตไฟฟ้า | เชื้อเพลิงเอทานอล | เซลล์เชื้อเพลิง | พลังงานฟิวชัน | พลังงานความร้อนใต้พิภพ | ไฟฟ้าพลังน้ำ | เชื้อเพลิงเมทานอล | การแปลงพลังงานความร้อนของมหาสมุทร | พาสซีฟโซลาร์ | เซลล์แสงอาทิตย์ | โซลาร์ชิมเนย์ | แผงเซลล์แสงอาทิตย์ | พลังงานแสงอาทิตย์ | พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ | โซลาร์เทาเวอร์ | ไทดัลเพาเวอร์ | โทรมบ์วอลล์ | กังหันน้ำ | กังหันลม |
การพัฒนาพลังงาน (Energy development) |
การพัฒนาพลังงาน | สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้า | การพัฒนาพลังงานในอนาคต | เศรษฐศาสตร์ไฮโดรเจน | ฮับเบิรต์พีค | การนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่ | ความทันสมัยเกินไป | เทคโนโลยีเฉพาะตัว |
พลังงานและสถานภาพความยั่งยืน (Energy and sustainability status) |
สถานภาพปัจจุบันของมนุษยชาติ | ระบบนิเวศบริการ | การ์ดาเชฟสเกล | TPE | ดรรชนีการพัฒนามนุษย์ของสหประชาชาติ | คุณค่าของโลก | เทคโนโลยีระหว่างกลาง | ทุนโครงสร้างพื้นฐาน |
ความยั่งยืน (Sustainability) |
อาคารอัตโนมัติ | ป่านิเวศ | นิเวศเศรษฐศาสตร์ | การคุ้มครองโลก | เศรษฐศาสตร์พัฒนา | การออกแบบสิ่งแวดล้อม | การแสวงหาประโยชน์จากทรัพยกรธรรมชาติ | อาคารเพื่อสิ่งแวดล้อม | ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น | อาคารธรรมชาติ | เกษตรถาวร | การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ | Straw-bale construction | ความยั่งยืน | เกษตรยั่งยืน | การออกแบบอย่างยั่งยืน | การพัฒนาที่ยั่งยืน | อุตสาหกรรมที่ยั่งยืน | ชีวิตที่ยั่งยืน | The Natural Step |
การจัดการความยั่งยืน (Sustainability management) |
คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน | ทฤษฎีพัฒนามนุษย์ | การพัฒนาที่ผิดพลาด | ปฏิญญาริโอเรื่อสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา | สถาบันร๊อคกีเมาน์เทน | ซิมวันเดอร์ริน | ด้อยพัฒนา | สภาธุรกิจโลกสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน | การประชุมสุดยอดของโลกว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน | หลักการการใช้มาตรการระวังล่วงหน้า | Intermediate Technology Development Group |
พลังงานและการอนุรักษ์ (Energy and conservation) |
การอนุรักษ์พลังงาน | Energy-efficient landscaping | รถยนต์ไฟฟ้า | รถยนต์ไฮโดรเจน | การใช้ชีวิตเรียบง่ายแบบสมัครใจ | การวัดรอยเท้าทางนิเวศ | พื้นที่การท่องเที่ยวที่ผสมผสานในแบบอนุรักษ์ | ของเสีย |