ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน (อังกฤษ: Fusion reaction) เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดจากการรวมนิวเคลียสของของธาตุ ได้นิวเคลียสที่หนักว่าเดิมและมีเสถียรภาพมากขึ้น
เชื่อกันว่าพลังงานจากดวงอาทิตย์ที่แผ่ออกไปในสุริยจักรวาลเกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดนี้ ซึ่งต้องอาศัยความร้อนที่อุณหภูมิสูงนับล้านองศาเซลเซียส และมาจากการรวมนิวเคลียสของไฮโดรเจน 4 อะตอม ได้เป็นฮีเลียม 1 อะตอม โดยเกิดขึ้นบริเวณผิวรอบนอกของดวงอาทิตย์
มนุษย์พยายามที่จะสร้างปฏิกิริยานี้โดยการรวมดิวเทอเรียม (deuterium) 2 อะตอมเป็นไฮโดรเจน 1 อะตอม โดยพลังงานต่อมวลของปฏิกิริยานี้มากกว่ากระบวนการฟิซชันมาก อีกทั้งผลิตผลจากปฏิกิริยานี้จะไม่เป็นสารกัมมันตรังสี
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน เป็นบทความเกี่ยวกับ ฟิสิกส์ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |