ปฏิกิริยา
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
- Interaction สามารถหมายถึง การประชุมนิยายวิทยาศาสตร์
ปฏิกิริยา (อังกฤษ: Interaction) เป็นชนิดของ การกระทำ ที่เกิดขึ้นระหว่างวัตถุ สองหรือมากกว่า มีผล ซึ่งกันและกัน ความคิดผลสองทางมีความสำคัญต่อแนวคิดปฏิกิริยาการมีผลทางเดียว การผสมผสานของปฏิกิริยาหลายๆ ปฏิกิริยานำไปสู่การอุบัติ (emergent) ของปรากฏการณ์ ซึ่งมีความแตกต่างของความหมายในหลายๆ ศาสตร์
ตัวอย่างปฏิกิริยาที่อยู่นอกเหนือวิทยาศาสตร์:
- การติดต่อสื่อสาร (communication)บางชนิด ตัวอย่างเช่น คนสองสามคนพูดคุยซึ่งกันและกัน หรือ การติดต่อสื่อสารระหว่าง กลุ่ม บุคคลใน องค์กร ประเทศชาติ หรือ รัฐชาติการติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้แก่:
- การค้า,
- การอพยบ,
- ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ,
- การขนส่ง เป็นต้น
- การย้อนกลับ (feedback) ระหว่างปฏิบัติการของ เครื่องจักรกล เช่น เครื่องคอทพิวเตอร์ หรือ เครื่องมือ ตัวอย่างเช่น ปฏิกิริยาระหว่างคนขับรถและตำแหน่งรถยนต์ของเขาในถนน:
- การควบคุบพวงมาลัยมีผลต่อตำแหน่งรถยนต์นั้นๆ
- การดูข้อมูลจะย้อนกลับไปที่คนขับรถ;
[แก้] เคมีและการแพทย์
ในทาง การแพทย์, ยา ส่วนใหญ่สามารถใช้ได้อย่างปลอดภัยร่วมกับ ยา อื่น แต่การใช้ ยาหลายๆตัว ร่วมกัน จำเป็นจะต้องติดตามดู ปฏิกิริยาโดย เภสัชกร
ปฏิกิริยาระหว่าง ยา เป็นหนึ่งในสองปัจจัยสำคัญดังนี้;
- เภสัชพลศาสตร์ (pharmacodynamic) เกี่ยวข้องกับฤทธิ์ของยาสองตัวที่มีปฏิกิริยาต่อร่างกาย และ
- เภสัชจลนศาสตร์ (pharmacokinetic) เกี่ยวข้องกับ การดูดซึม การกระจายตัว การเผาผลาญ และการขับถ่าย ของยาทั้งหมด
บางครั้งการใช้ยาตั้งแต่สองตัวขึ้นไปร่วมกันจะทำให้มีผลพิเศษเกิดขึ้นมา เช่น การใช้ยาแก้ปวด สองตัวร่วมกันจะควบคุมความปวดได้ดีขึ้น ซึ่งก็ควรได้รับการติดตามดดูแลจาก เภสัชกร อย่างใกล้ชิด ในทางตรงกันข้ามก็มียาบางตัวที่ผลหักล้างกัน
[แก้] ดูเพิ่ม
- ยา
- สารเคมี
- เภสัชวิทยา
- Computability logic
- การออกแบบปฏิกิริยา
- Interactive computation
- Interactivity
- Transaction
ปฏิกิริยา เป็นบทความเกี่ยวกับ เคมี ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ปฏิกิริยา ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |