ฟุตบอลทีมชาติอิรัก
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชื่อเล่น | اسود الرافدين Assood Al Rafidain (สิงโตแห่งสองแม่น้ำ) |
||||||||||||||||||||||||||||||||
สมาคม | สมาคมฟุตบอลอิรัก | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ฝึกสอน | Akram Ahmed Salman, (2548-) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสฟีฟ่า | IRQ | ||||||||||||||||||||||||||||||||
เล่นทีมชาติสูงสุด | Hussein Saeed (126) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ทำประตูสูงสุด | Hussein Saeed (63) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||
เกมต่างประเทศเกมแรก โมร็อกโก 3 - 3 อิรัก (เลบานอน; 19 ตุลาคม 2500) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
ชัยชนะสูงสุด อิรัก 10 - 1 บาห์เรน (แบกแดด อิรัก; 5 เมษายน 2509) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
พ่ายแพ้สูงสุด ตุรกี 7 - 1 อิรัก (ตุรกี; 6 ธันวาคม 2502) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
ฟุตบอลโลก | |||||||||||||||||||||||||||||||||
เข้าเล่น | 1 (เข้าครั้งแรก 1986) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
อันดับสูงสุด | รอบ 1 1986 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
เอเชียนคัพ | |||||||||||||||||||||||||||||||||
เข้าเล่น | 5 (เข้าครั้งแรก 1972) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
อันดับสูงสุด | อันดับ 4 1976 |
ฟุตบอลทีมชาติอิรัก เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศอิรัก อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลอิรัก มีผลงานในระดับโลกคือเข้าร่วมเล่นฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย ใน ฟุตบอลโลก 1986 สำหรับในระดับทวีปเอเชียนั้น ทีมชาติอิรักได้อันดับ 4 ใน เอเชียนคัพ และได้เหรียญทอง 1 ครั้ง ใน เอเชียนเกมส์
ในช่วงยุครัฐบาลซัดดัม ฮุสเซน นั้น ทีมชาติอิรักควบคุมโดยลูกของประธานาธิบดีซัดดัม คือ อูเดย์ ฮุสเซน โดยภายใต้การควบคุมนั้น จะมีการลงโทษและข่มขู่อย่างแรง ไม่ว่าจะโดนให้ตัดขาถ้าขาดซ้อม หรือจับขังคุก รวมไปถึงถูกเฆี่ยนด้วยแส้ด้วยไฟฟ้า ซึ่งการลงโทษนี้รวมไปถึง นักฟุตบอลที่เตะลูกโทษพลาดในการแข่งขันนัดสำคัญ [1] ซึ่งภายหลังจากที่ประเทศถูกคุมคามจากสหรัฐอเมริกาในช่วงปี 2546 ทีมชาติได้มีผู้จัดการคนใหม่เข้ามา คือ อัดนัน ฮามัด ซึ่งมีผลงานทำให้ทีมชาติอิรัก ผ่านรอบคัดเลือกในการแข่งขัน โอลิมปิก 2004 โดยชนะ ทีมชาติคอสตาริกา ทีมชาติโปรตุเกส และทีมชาติออสเตรเลีย โดยได้อันดับที่ 4 ในการแข่งขัน
สารบัญ |
[แก้] ผลงาน
[แก้] ฟุตบอลโลก
- 1930 ถึง 1970 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1974 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 1978 - ถอนตัว
- 1982 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 1986 - รอบแรก
- 1990 ถึง 2006 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
[แก้] เอเชียนคัพ
- 1956 ถึง 1968 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1972 - รอบแรก
- 1976 - อันดับ 4
- 1980 ถึง 1992 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1996 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
- 2000 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
- 2004 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
- 2007
[แก้] เอเชียนเกมส์
- 1951 ถึง 1970 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1974 - รอบแรก
- 1978 - อันดับ 4
- 1982 - เหรียญทอง
- 1986 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
- 1990 ถึง 2002 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 2006 - เหรียญเงิน
[แก้] เวสต์เอเชียนฟุตบอลเฟเดอเรชันแชมเปียนชิพ
- 2000 - อันดับ 3
- 2002 - ชนะเลิศ
- 2004 - อันดับ 4
- 2006 -
[แก้] อาหรับเนชันส์คัพ
- 1963 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1964 - ชนะเลิศ
- 1966 - ชนะเลิศ
- 1985 - ชนะเลิศ
- 1988 - ชนะเลิศ
- 1992 ถึง 2002- ไม่ได้เข้าร่วม
- 2009 -
[แก้] อ้างอิง
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
ฟุตบอลทีมชาติในเอเอฟซี | |
กวม | กัมพูชา | กาตาร์ | เกาหลีใต้ | เกาหลีเหนือ | คีร์กีซสถาน | คูเวต | จอร์แดน | จีน | ญี่ปุ่น | ซาอุดีอาระเบีย | ซีเรีย | ติมอร์ตะวันออก | เติร์กเมนิสถาน | ไต้หวัน | ทาจิกิสถาน | ไทย | เนปาล | บรูไน | บังกลาเทศ | บาห์เรน | ปากีสถาน | ปาเลสไตน์ | พม่า | ฟิลิปปินส์ | ภูฏาน | มองโกเลีย | มัลดีฟส์ | มาเก๊า | มาเลเซีย | เยเมน | ลาว | เลบานอน | เวียดนาม | ศรีลังกา | ยูเออี | สิงคโปร์ | ออสเตรเลีย | อัฟกานิสถาน | อาเซอร์ไบจาน | อินเดีย | อินโดนีเซีย | อิรัก | อิหร่าน | อียิปต์ | อุซเบกิสถาน | โอมาน |