ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชื่อเล่น | Chollima | ||||||||||||||||||||||||||||||||
สมาคม | DPR Korea Football Association | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ฝึกสอน | อัน ฮยุง-ยี (한형일) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสฟีฟ่า | PRK | ||||||||||||||||||||||||||||||||
เล่นทีมชาติสูงสุด | ? | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ทำประตูสูงสุด | ? | ||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||
เกมต่างประเทศเกมแรก พม่า 0 - 0 เกาหลีเหนือ (ย่างกุ้ง, พม่า; 22 มีนาคม พ.ศ. 2507) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
ชัยชนะสูงสุด เกาหลีเหนือ 21 - 0 กวม (ไทเป, ไต้หวัน; 11 มีนาคม พ.ศ. 2548) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
พ่ายแพ้สูงสุด บัลแกเรีย 6 - 1 เกาหลีเหนือ (โซเฟีย, บัลแกเรีย; 25 พฤษภาคม, พ.ศ. 2517) โปแลนด์ 5 - 0 เกาหลีเหนือ (มอนตรีออล, แคนาดา; 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2517) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||
ฟุตบอลโลก | |||||||||||||||||||||||||||||||||
เข้าเล่น | 1 (เข้าครั้งแรก 1966) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
อันดับสูงสุด | รอบก่อนรองชนะเลิศ, 1966 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
เอเชียนคัพ | |||||||||||||||||||||||||||||||||
เข้าเล่น | 2 (เข้าครั้งแรก 1980) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
อันดับสูงสุด | อันดับ 4, 1980 |
ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจาก North Korea และอยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลเกาหลีเหนือ ผลงานที่ดีที่สุดคือการเข้ารอบรองชนะเลิศของฟุตบอลโลก 1966 โดยชนะอิตาลีอย่างเหนือความคาดหมาย 1-0 กลายเป็นทีมจากเอเซียทีมแรกที่ผ่านถึงรอบก่อนรองชนะเลิศ
ทีมในปัจจุบันประกอบด้วยทั้งชาวเกาหลีเนือและชาวเกาหลีที่เกิดในญี่ปุ่น (Zainichi Korean) เนื่องจากภาะทางการเมืองในเกาหลีเหนือ มีเฉพาะชาวเกาหลีที่เกิดในญี่ปุ่นที่สามารถค้าแข้งให้กับทีมนอกประเทศเกาหลีเนือตามใจตัวเองได้ นอกจากนี้ แฟนของทีมชาติเกาหลีเหนือที่ตามไปเชียร์ถึงต่างประเทศก็เป็นชาวเกาหลีที่เกิดในญี่ปุ่นเช่นกัน เนื่องจากชาวเกาหลีเหนือโดยทั่วไป มักถูกห้ามออกนอกประเทศ
สารบัญ |
[แก้] ผลงาน
[แก้] ฟุตบอลโลก
- 1930 ถึง 1938 - ไม่ได้เข้าร่วม เนื่องจากเป็นอาณานิคมของญี่ปุ่น
- 1950 ถึง 1962 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1966 - รองก่อนรองชนะเลิศ
- 1970 - ถอนตัว
- 1974 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 1978 - ถอนตัว
- 1982 ถึง 1994 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 1998 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 2002 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 2006 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
[แก้] เอเชียนคัพ
- 1956 ถึง 1972 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1976 - ถอนตัว
- 1980 - อันดับ 4
- 1984 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1988 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 1992 - รอบแรก
- 1996 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 2000 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 2004 - ถูกเอเอฟซีแบน
- 2007 - ไม่ได้เข้าร่วม
[แก้] อีสต์เอเชียนคัพ
- 2003 - ถอนตัว
- 2005 - อันดับ 3
[แก้] ผลงานอื่น ๆ
แชมป์ฟุตบอลเยาวชนเอเอฟซี 2006 [1]
ฟุตบอลทีมชาติในเอเอฟซี | |
กวม | กัมพูชา | กาตาร์ | เกาหลีใต้ | เกาหลีเหนือ | คีร์กีซสถาน | คูเวต | จอร์แดน | จีน | ญี่ปุ่น | ซาอุดีอาระเบีย | ซีเรีย | ติมอร์ตะวันออก | เติร์กเมนิสถาน | ไต้หวัน | ทาจิกิสถาน | ไทย | เนปาล | บรูไน | บังกลาเทศ | บาห์เรน | ปากีสถาน | ปาเลสไตน์ | พม่า | ฟิลิปปินส์ | ภูฏาน | มองโกเลีย | มัลดีฟส์ | มาเก๊า | มาเลเซีย | เยเมน | ลาว | เลบานอน | เวียดนาม | ศรีลังกา | ยูเออี | สิงคโปร์ | ออสเตรเลีย | อัฟกานิสถาน | อาเซอร์ไบจาน | อินเดีย | อินโดนีเซีย | อิรัก | อิหร่าน | อียิปต์ | อุซเบกิสถาน | โอมาน |