ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาศาสตร์ |
ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎี |
สัทศาสตร์ |
สรวิทยา |
สัณฐานวิทยา |
วากยสัมพันธ์ |
อรรถศาสตร์ |
ลีลาวิทยา |
วจนปฏิบัติศาสตร์ |
ภาษาศาสตร์ประยุกต์ |
ภาษาศาสตร์สังคม |
ภาษาศาสตร์เพิ่มพูน |
ภาษาศาสตร์ปริชาน |
ภาษาศาสตร์เชิงคำนวณ |
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ |
ศัพทมูลวิทยา |
รายชื่อนักภาษาศาสตร์ |
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ (ภาษาอังกฤษ : Historical linguistics หรือ diachronic linguistics) เป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา โดยมี 4 ประเด็นหลักด้วยกัน ดังนี้
- พรรณนาและศึกษาการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ในภาษานั้นๆ
- พรรณนาถึงประวัติของชุมชนที่พูดภาษานั้นๆ
- สืบสร้างภาษาก่อนประวัติศาสตร์ของภาษา และพิจารณาถึงความสัมพันธ์ การจัดกลุ่มเข้าตระกูลภาษา (ภาษาศาสตร์เชิงเปรียบเทียบ)
- พัฒนาทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวการเปลี่ยนแปลงของภาษาว่าเกิดขึ้นอย่างไร เพราะเหตุใด ภาษาศาสตร์เชิงประวัติสมัยใหม่เริ่มต้นในปลายศตวรรษที่ 18 และเติบโตจากหลักนิรุกติศาสตร์ที่มีมาแต่ก่อน อันเป็นการศึกษาเอกสารโบราณ ซึ่งสืบย้อนไปถึงยุคโบราณ
![]() |
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ เป็นบทความเกี่ยวกับ ภาษา หรือ ตัวอักษร ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |