ยาระบาย
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยาระบาย(อังกฤษ:laxative)เป็นตำรับยาที่กำจัดกากอาหาร (defecation)หรืออุจจาระ (feces) ออกจากร่างกาย ยาระบายส่วนใหญ่จะใช้รักษาโรคท้องผูก (constipation)โดยการกระตุ้น หล่อลื่น และสร้างปริมาณอุจจาระ ยาระบายแบ่งเป็นประเภมต่างๆดังนี้
สารบัญ |
[แก้] เพิ่มปริมาณอุจจาระ (Bulk-producing agents)
- ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้เล็ก และ ลำไส้ใหญ่
- ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 12 - 72 ชม.
- ยาประเภทนี้จะมีลักษณะดังนี้
- กากอาหารไฟเบอร์ (dietary fiber)
- สารที่เมื่อถูกน้ำแล้วจะเพิ่มปริมาตรเป็นเจล เช่น
- พซิลเลียม (psyllium)
- เมตามูซิล (Metamucil),
- เมตทิลเซลลูโลส (Citrucel),
- พอลิคาร์โบฟิล (polycarbophil)
[แก้] ยาประเภททำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม (Stool softeners / Surfactants)
- ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้เล็ก และ ลำไส้ใหญ่
- ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 12 - 72 ชม.
- ตัวอย่างยานี้คือ ดูคูเซต (docusate-Colace, Diocto).
[แก้] ยาประเภทหล่อลื่น (Lubricants / Emollient)
- ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้โคลอน (Colon)
- ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 6 - 8 ชม.
- ตัวอย่างยานี้คือน้ำมันแร่ (mineral oil) ผลข้างเคียงจากการใช้ยานี้คือ ทำให้การดูดซึมไวตามินประเภทที่ละลายในน้ำมัน
เช่น เอ ดี อี และ เค น้อยลงอาจทำให้ร่างกายขาดไวตามินเหล่านี้ได้
[แก้] ยาประเภทเพิ่มปริมาตรน้ำ (Hydrating agents (osmotics))
- ตัวอย่างยาเหล่านี้คือ
- มิลค์ออฟแมกนิเซีย (Milk of Magnesia)
- เกลือยิปซั่ม (Epsom salt)
[แก้] ยาประเภทน้ำเกลือ (Saline)
- ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้เล็ก และ ลำไส้ใหญ่
- ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 0.5 - 3 ชม.
- ตัวอย่างยาเหล่านี้คือ
- โมโนเบซิก โซเดียม ฟอสเฟต (Monobasic sodium phosphate)
- ไดเบซิก โซเดียม ฟอสเฟต (Dibasic sodium phosphate)
- แมกนีเซียม ซิเตรต (Magnesium citrate)
- มิลค์ออฟแมกนิเซีย (Milk of Magnesia)
- แมกนีเซียม ซัลเฟต (Magnesium sulphate)
- โซเดียม ไบฟอสเฟต (Sodium biphosphate)
[แก้] ไฮเปอร์ออสโมติก เอเจนต์ (Hyperosmotic agents)
- ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้โคลอน (Colon)
- ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 0.5 - 3 ชม.
- ตัวอย่างยาเหล่านี้เป็นยาประเภทยาเหนบ (suppositories)ได้แก่
- กลีเซอรีน (Glycerin)
- แลคตูโลส (Lactulose)
[แก้] ประเภทกระตุ้น (Stimulant / Irritant)
- ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้โคลอน (Colon)
- ตัวอย่างยาเหล่านี้
ช่วงเวลาออกฤทธิ์ | ชื่อยาระบาย |
6 - 8 ชม. | Cascara Phenolphthalein (phased out because of carcinogenicity concerns) |
6 - 10 ชม. | Bisacodyl tablets (Dulcolax) Casanthranol Senna (Ex-lax) |
15 นาที - 1 ชม. | Bisacodyl suppository |
[แก้] อื่นๆ
[แก้] น้ำมันระหุ่ง (Castor Oil)
- ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้เล็ก
- ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 2 - 6 ชม.
Castor Oil acts directly on intestinal mucosa or nerve plexus and alters water and electrolyte secretion. It is converted into ricinoleic acid (the active component) in the gut.