หลักภาษาไทย
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
หลักการใช้ภาษาไทย
[แก้] วิธีการอ่านคำอักษรนำในภาษาไทย
การอ่านอักษรนำ
- คำใดที่มีอักษรสูงหรืออักษรกลางนำอักษรต่ำเดี่ยวให้อ่านออกเสียง พยางค์หลัง ผันเสียงตามตัวนำ เช่น ตลอด (ตะ-หลอด) ไปตลาด (ตะ-หลาด) เยี่ยมฉลาด (ฉะ-หลาด) ฉลู (ฉะ-หลู) ดูตงิด (ตะ-หงิด) ชอบขนด (ขะ-หนด) จรด (จะ-หรด)
- คำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาบาล สันสกฤต เขมร ฯลฯ นำมาอ่านแบบอักษรนำตามอักขรวิธีของไทย เช่น ดิลก (ดิ-หลก) ชกอริ (อะ-หริ) ส่วนสิริ (สิ-หริ) มีกิเลส (กิ-เหลด) สลุต (สะ-หลุด)
- การใช้ ห นำอักษรเดี่ยว หรือการใช้ อ นำ ย ไม่ต้องออกเสียง ห และ อ แต่ให้ออกเสียงกลืนกันไป ตามเสียงพยัญชนะตัวนำ เช่น
- อย่าอยู่อย่างอยาก
- หากหวังไหม่มาก ลำบากเหลือหลาย
- หนูแหวนหวือหวา จะหย่าอย่าอาย
- หาแหวนหรือหวาย พ่อหม้ายใหญ่โต
[แก้] การใช้ภาษาไทย
- การใช้ การ และ ความ
- การเขียนคำทับศัพท์
- การเขียนคำย่อ
- คำที่มักเขียนผิด
- เครื่องหมายวรรคตอน
- ศัพท์บัญญัติ
- คุณศัพท์
![]() |
หลักภาษาไทย เป็นบทความเกี่ยวกับ ภาษา หรือ ตัวอักษร ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ หลักภาษาไทย ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |