เมทาโดน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชื่อ IUPAC 6-(dimethylamino)-4,4-diphenyl- 3-heptanone |
|
เลขทะเบียน CAS 76-99-3 |
รหัส ATC |
PubChem 4095 |
DrugBank APRD00485 |
สูตรเคมี | C21H27NO |
น้ำหนักโมเลกุล | 309.445 ก/โมล |
ชีวปริมาณออกฤทธิ์ (Bioavailability) | 40-80(-92) |
กระบวนการสร้างและสลาย (Metabolism) | ? |
ครึ่งชีวิตของการกำจัด | (13-)24-36 ชั่วโมง |
การขับถ่าย | ? |
ลำดับขั้นของยาต่อการตั้งครรภ์ | ? |
สถานะตามกฎหมาย | Schedule II (USA) |
ช่องทางการรับยา | ปาก, ฉีดเข้าเส้น |
การละลายในน้ำ | 48.5 mg/L |
ความหนาแน่น | ? |
จุดหลอมเหลว | 235.0°C |
จุดเดือด | ? |
เมทาโดน (Methadone) เป็นยาสังเคราะห์จำพวกโอปิออยด์ มีฤทธิ์เป็นยาบรรเทาปวด ถูกสังเคราะห์ขึ้นในปี ค.ศ. 1937 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ Max Bockmühl และ Gustav Ehrhart ที่ IG Farben (Hoechst-Am-Main) ซึ่งกำลังวิจัยหายาบรรเทาปวดที่มีความเหมาะสมในระหว่างการผ่าตัดและมีผลข้างเคียงที่ทำให้ติดน้อย เมทาโดนจัดเป็นยาประเภท Schedule II ภายใต้ อนุสัญญาว่าด้วยยาเสพติด (Single Convention on Narcotic Drugs)[1].
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
ยาบรรเทาปวด แก้ | |||
---|---|---|---|
พาราเซตามอล (อะเซตามิโนเฟน) · เอ็นเซด · โอปิแอต · เตตร้าไฮโดรแคนนาบินอล · คีตามีน |
|||
|
|||
|
เมทาโดน เป็นบทความเกี่ยวกับ เภสัชกรรมและยา ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ เมทาโดน ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |