เศรษฐศาสตร์แบบมีส่วนร่วม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เศรษฐศาสตร์แบบมีส่วนร่วม หรือ พาร์อีคอน (อังกฤษ: participatory economics หรือ parecon) เป็นระบบเศรษฐกิจแบบหนึ่งที่ถูกเสนอขึ้น เพื่อเป็นทางเลือกนอกเหนือจากทุนนิยมร่วมสมัย รวมทั้งยังเป็นทางเลือกนอกเหนือจาก สังคมนิยมที่วางแผนจากศูนย์กลาง หรือ coordinatorism. เศรษฐศาสตร์แบบมีส่วนร่วมพัฒนามาจากงานของนักเคลื่อนไหวและนักทฤษฎีการเมือง Michael Albert และงานของนักเศรษฐศาสตร์หัวรุนแรง Robin Hahnel ระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1980s และ 1990s
[แก้] อ้างอิง
- A Quiet Revolution In Welfare Economics, Albert and Hahnel, Princeton, 1990 (ดูออนไลน์ได้)
- Looking Forward: Participatory Economics for the Twenty First Century, Albert and Hahnel, South End Press, 1991 (ดูออนไลน์ได้)
- The Political Economy of Participatory Economics, Albert and Hahnel, Princeton University Press, 1991 (ดูออนไลน์ได้)
- Moving Forward: Program for a Participatory Economy, Albert, AK Press, 1997
- Parecon: Life After Capitalism, Albert, Verso Books, 2003 (ดูออนไลน์ได้)
- Economic Justice And Democracy: From Competition To Cooperation, Hahnel, Routledge, 2005
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
- Parecon.org เว็บไซต์เศรษฐศาสตร์แบบมีส่วนร่วม
- The Parecon wiki วิกิพาร์อีคอน
- Vancouver Participatory Economics Collective
- A Marxist critique of Parecon
- The NewStandard
- ทุนนิยมและเศรษฐศาสตร์แบบมีส่วนร่วม: การเปรียบเทียบ
- Industrial Workers of the World
เศรษฐศาสตร์แบบมีส่วนร่วม เป็นบทความเกี่ยวกับ เศรษฐศาสตร์ การเงิน ธุรกิจ หรือ การค้า ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ เศรษฐศาสตร์แบบมีส่วนร่วม ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |