การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (NLP - Natural Language Processing) เป็นสาขาย่อยของปัญญาประดิษฐ์ และภาษาศาสตร์ ที่ศึกษาปัญหาในการประมวลผลและใช้งานภาษาธรรมชาติ รวมทั้งการทำความเข้าใจภาษาธรรมชาติ ทั้งนี้เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจภาษามนุษย์ได้
สารบัญ |
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
- Survey of the State of the Art in Human Language Technology - สำรวจสถานะปัจจุบัน (เมื่อ พ.ศ. 2539) ของเทคโนโลยีภาษามนุษย์
[แก้] หนังสือ และบทความ
- Chris Manning and Hinrich Schütze, Foundations of Statistical Natural Language Processing, MIT Press. Cambridge, MA: May 1999.
[แก้] กลุ่มวิจัย
[แก้] ประเทศไทย
- Information Research and Development Division - ฝ่ายวิจัยและพัฒนาสาขาสารสนเทศ (งานวิจัย RDI-2, RDI-4 และ RDI-5) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)
- Thai Computational Linguistics Laboratory (TCL Thailand) - ห้องวิจัยภาษาศาสตร์เชิงคำนวณ
- Knowledge Information & Data Management Laboratory (KIND) - ห้องวิจัยการจัดการข้อมูล, สารสนเทศ, และความรู้ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Centre for Research in Speech and Language Processing (CRSLP) - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- Specialty Research Unit in Natural Language Processing and Intelligent Information System Technology (NAiST) - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- Intelligent Information Retrieval and Database Laboratory - ห้องปฏิบัติการค้นคืนสารสนเทศอัจฉริยะและฐานข้อมูล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
[แก้] ต่างประเทศ
- Language Technology Institute, Carnegie Mellon University
- NLP Group, Johns-Hopkins University - มหาวิทยาลัยจอห์นส-ฮ็อปกิ้นส
- NLP Group, Stanford University - มหาวิทยาลัยแสตนฟอร์ด
- Natural Language Group, Information Sciences Institute, University of Southern California - มหาวิทยาลัยเซาธ์เทิร์นแคลิฟอเนีย
- NLP Group, University of Sheffied - มหาวิทยาลัยเชฟฟิลด์
- NLP Group, Microsoft Research - ศูนย์วิจัยไมโครซอฟท์
[แก้] วารสารและการประชุมวิชาการ
[แก้] ซอฟต์แวร์
- Natural Language ToolKit for Python - ชุดเครื่องมือสำหรับงานประมวลผลภาษาธรรมชาติ ออกแบบมาโดยเฉพาะ สำหรับการเรียนการสอนวิชาการประมวลผลภาษาธรรมชาติ มีคู่มือที่ละเอียดและเข้าใจง่าย. ใช้ภาษาไพธอน
- GATE: General Architecture for Text Engineering - ระบบสำหรับประมวลผลข้อความ ครอบคลุมการทำงานส่วนต่างๆ ของการประมวลผลภาษาธรรมชาติ และการเรียกคืนสารสนเทศ มีตัวโปรแกรมสำหรับงานคลังข้อมูลภาษา และ annotation. ใช้ภาษาจาวา, สามารถเรียกใช้ในลักษณะไลบรารีได้
- OpenNLP - รวบรวมเครื่องมือสำหรับงานประมวลผลภาษาธรรมชาติ (รวมถึงการเรียนรู้ด้วยเครื่อง) ที่เขียนด้วยภาษาจาวา และเป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส
![]() |
การประมวลผลภาษาธรรมชาติ เป็นบทความเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ หรือ เครือข่าย ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ การประมวลผลภาษาธรรมชาติ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |