กาลกิริยา
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ส่วนหนึ่งของ ประวัติพุทธศาสนา |
|
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา | |
เพื่อความดับทุกข์ · นิพพาน |
|
ใจความสำคัญของพุทธศาสนา | |
ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส |
|
ไตรสรณะ | |
ความเชื่อและการปฏิบัติ | |
ศีล · ธรรม ศีลห้า · ศีลแปด บทสวดมนต์และพระคาถา |
|
คัมภีร์และหนังสือ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก |
|
นิกาย | |
เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน | |
สังคมพุทธศาสนา | |
เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล | |
ดูเพิ่มเติม | |
ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา หมวดหมู่พุทธศาสนา |
กาลกิริยา (อ่านว่า กาละกิริยา หรือ กานกิริยา) แปลว่า การกระทำกาละ
กาลกิริยา เป็นสำนวนวัด หมายถึง ตาย, มรณะ, ล่วงลับไป ใช้กับบุคคลทั่วไปไม่จำกัดเพศ เช่นใช้ว่า
- “ผู้สั่งสมบุญความดีไว้มาก ครั้นทำกาลกิริยาไปแล้วย่อมเข้าถึงสุคติ”
- “สามีของนางครั้นสั่งเสียเสร็จแล้วก็ทำกาลกิริยาล่วงลับไปสู่ปรโลก”
กาลกิริยา ความหมายตามรูปศัพท์อีกอย่างหนึ่งว่า ถึงเวลาที่กำหนดไว้, ถึงจุดของเวลา, ถึงเวลาสุดท้าย, ถึงชั่วโมงสุดท้าย (ของชีวิต) ซึ่งก็ได้ความหมายว่า “ตาย” เหมือนกัน
[แก้] อ้างอิง
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548