ตู่พุทธพจน์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ส่วนหนึ่งของ ประวัติพุทธศาสนา |
|
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา | |
เพื่อความดับทุกข์ · นิพพาน |
|
ใจความสำคัญของพุทธศาสนา | |
ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส |
|
ไตรสรณะ | |
ความเชื่อและการปฏิบัติ | |
ศีล · ธรรม ศีลห้า · ศีลแปด บทสวดมนต์และพระคาถา |
|
คัมภีร์และหนังสือ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก |
|
นิกาย | |
เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน | |
สังคมพุทธศาสนา | |
เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล | |
ดูเพิ่มเติม | |
ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา หมวดหมู่พุทธศาสนา |
ตู่พุทธพจน์ หมายถึง การอ้างพระพุทธพจน์ผิด ๆ ถูก ๆ
ตู่พุทธพจน์ ใช้เรียกการที่พูดหรือเขียนข้อความหรือข้อธรรมไปตามความคิดเห็นของตนเองแล้วอ้างว่านี่เป็นพระพุทธพจน์ เป็นคำที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ จะอ้างด้วยไม่รู้ ด้วยเข้าใจผิด หรือด้วยจงใจก็ตาม หากข้อที่อ้างถึงนั้นมิใช่พระพุทธพจน์ มิใช่พระดำรัสของพระพุทธเจ้า หรือใช่บ้างไม่ใช่บ้าง หรือนำมาอ้างผิด ๆ ถูก ๆ ชื่อว่าตู่พุทธพจน์ได้ทั้งสิ้น เรียกการตู่พุทธพจน์แบบนี้อีกอย่างหนึ่งว่า จับใส่พระโอษฐ์
ตู่พุทธพจน์ จัดเป็นการกระทำที่ไม่เหมาะ ไม่ควร เป็นกรรมหนัก คล้ายกับกล่าวตู่พระพุทธเจ้าด้วยคำไม่จริง
[แก้] อ้างอิง
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548