นวกรรม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ส่วนหนึ่งของ ประวัติพุทธศาสนา |
|
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา | |
เพื่อความดับทุกข์ · นิพพาน |
|
ใจความสำคัญของพุทธศาสนา | |
ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส |
|
ไตรสรณะ | |
ความเชื่อและการปฏิบัติ | |
ศีล · ธรรม ศีลห้า · ศีลแปด บทสวดมนต์และพระคาถา |
|
คัมภีร์และหนังสือ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก |
|
นิกาย | |
เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน | |
สังคมพุทธศาสนา | |
เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล | |
ดูเพิ่มเติม | |
ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา หมวดหมู่พุทธศาสนา |
นวกรรม แปลว่า การทำให้ใหม่ คือการก่อสร้าง
นวกรรม ในคำวัดหมายึงงานสาธารณูปการ คืองานที่เกี่ยวกับการก่อสร้าง การบูรณะปฏิสังขร การดูแลจัดการวัดเรื่องเสนาสนะและถาวรวัตถุต่างๆ ภายในวัด รวมถึงการทำให้วัดสะอาดร่มรื่นเป็นต้น เรียกรวมว่า งานนวกรรม
นวกรรม ปกติเป็นงานของชาวบ้าน พระสงฆ์มีหน้าที่อำนวยการหรือควบคุมดูแลให้งานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ดังเช่นพระมหาโมคคัลานะได้รับมอบหมายจากพระพุทธเจ้าให้เป็นผู้อำนวยการก่อสร้างบุพพารามของนางวิสาขา เรียกภิกษุผู้ทำหน้าที่นี้ว่า นวกัมมัฏฐายี (ผู้อำนวยการก่อสร้าง) บ้าง นวกัมมิกะ (ผู้ดูแลนวกรรม) บ้าง นวการ (ผู้ก่อสร้าง) บ้าง
[แก้] อ้างอิง
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548