สัตบุรุษ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ส่วนหนึ่งของ ประวัติพุทธศาสนา |
|
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา | |
เพื่อความดับทุกข์ · นิพพาน |
|
ใจความสำคัญของพุทธศาสนา | |
ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส |
|
ไตรสรณะ | |
ความเชื่อและการปฏิบัติ | |
ศีล · ธรรม ศีลห้า · ศีลแปด บทสวดมนต์และพระคาถา |
|
คัมภีร์และหนังสือ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก |
|
นิกาย | |
เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน | |
สังคมพุทธศาสนา | |
เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล | |
ดูเพิ่มเติม | |
ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา หมวดหมู่พุทธศาสนา |
สัตบุรุษ (อ่านว่า สัดบุหรุด) แปลว่า คนดี คนสงบ คนที่พร้อมมูลด้วยธรรม
สัตบุรุษ หมายถึงคนที่มีคุณธรรม คนที่เป็นสัมมาทิฐิ คนที่ประพฤติธรรมเป็นปกติ
สัตบุรุษ ในทางปฏิบัติคือคนที่ประกอบด้วยสัปปุริสธรรม ๗ ประการ คือ
- เป็นผู้ประกอบด้วยธรรม ๗ ประการคือศรัทธา หิริ โอตตัปปะ พาหุสัจจะ วิริยะ สติ ปัญญา
- ไม่ปรึกษาอะไรที่เบียดเบียนตนและผู้อื่น
- ไม่คิดอะไรเพื่อเบียดเบียนตนและผู้อื่น
- ไม่พูดอะไรเพือเบียดเบียนตนและผู้อื่น
- ไม่ทำอะไรเพือเบียดเบียนตนและผู้อื่น
- มีความเห็นชอบ เป็นสัมมาทิฐิ
- ให้ทานโดยความเคารพ ไม่ให้แบบทิ้งขว้าง
[แก้] อ้างอิง
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548