อนิฏฐารมณ์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ส่วนหนึ่งของ ประวัติพุทธศาสนา |
|
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา | |
เพื่อความดับทุกข์ · นิพพาน |
|
ใจความสำคัญของพุทธศาสนา | |
ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส |
|
ไตรสรณะ | |
ความเชื่อและการปฏิบัติ | |
ศีล · ธรรม ศีลห้า · ศีลแปด บทสวดมนต์และพระคาถา |
|
คัมภีร์และหนังสือ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก |
|
นิกาย | |
เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน | |
สังคมพุทธศาสนา | |
เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล | |
ดูเพิ่มเติม | |
ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา หมวดหมู่พุทธศาสนา |
อนิฏฐารมณ์ (อ่านว่า อะนิดถารม) แปลว่า อารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา ตรงข้ามกับ อิฏฐารมณ์ อารมณ์ที่น่าปรารถนา
อนิฏฐารมณ์ คือสิ่งที่คนไม่ปรารถนา ไม่ต้องการอยากได้ ไม่อยากมี ไม่อยากพบเห็น ได้แก่ กามคุณ ๕ คือรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่ไม่ดี ไม่ชวนให้รักให้ชอบใจ และโลกธรรมในส่วนที่ไม่ดี ๔ คือ เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์
อนิฏฐารมณ์ เป็นสิ่งที่เกิดได้แก่ทุกคน แม้ไม่ต้องการ แต่มีความจริงว่าอนิฏฐารมณ์ เป็นสิ่งไม่เที่ยง ทนอยู่ในสภาพนั้นๆ ไม่ได้นาน มีความแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปเป็นธรรมดา เกิดมีได้ก็กลับกลายเป็นอื่นไปได้เช่นเดียวกับสิ่งที่เป็นอิฏฐารมณ์
[แก้] อ้างอิง
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
อนิฏฐารมณ์ เป็นบทความเกี่ยวกับ ความเชื่อ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ อนิฏฐารมณ์ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |