New Immissions/Updates:
boundless - educate - edutalab - empatico - es-ebooks - es16 - fr16 - fsfiles - hesperian - solidaria - wikipediaforschools
- wikipediaforschoolses - wikipediaforschoolsfr - wikipediaforschoolspt - worldmap -

See also: Liber Liber - Libro Parlato - Liber Musica  - Manuzio -  Liber Liber ISO Files - Alphabetical Order - Multivolume ZIP Complete Archive - PDF Files - OGG Music Files -

PROJECT GUTENBERG HTML: Volume I - Volume II - Volume III - Volume IV - Volume V - Volume VI - Volume VII - Volume VIII - Volume IX

Ascolta ""Volevo solo fare un audiolibro"" su Spreaker.
CLASSICISTRANIERI HOME PAGE - YOUTUBE CHANNEL
Privacy Policy Cookie Policy Terms and Conditions
กองทุนรวม - วิกิพีเดีย

กองทุนรวม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

กองทุนรวม (Mutual Fund) เป็นการรวบรวมเงินทุนจากนักลงทุนทั่วไป คนละเล็กคนละน้อย เพื่อรวมเป็นเงินก้อนขนาดใหญ่ แล้วนำเงินที่รวบรวมนั้นไปลงทุนตามที่ได้ตกลงกับนักลงทุน กองทุนที่รวบรวมเงินที่ได้นี้จะได้รับการบริหารจัดการจากบริษัทจัดการกองทุนซึ่งมีหน้าที่ลงทุนแทนนักลงทุนหรือผู้ถือหน่วยลงทุน และมีการจัดตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์เพิ่มขึ้นมาอีกซึ่งกฎหมายจะกำหนดเอาไว้ เพื่อค่อยดูแลเงินกองทุนนั้นแทนนักลงทุนที่นำเงินมาลงทุน เผื่อในกรณีที่บริษัทจักการกองทุนล้ม ผู้ดูแลผลประโยชน์ก็จะชดเชยให้กับนักลงทุน หรือบริษัทจัดการกองทุนไม่ได้ทำตามหนังสือชี้ชวนผู้ดูแลผลประโยชน์ก็จะเอาผิดบริษัทจัดการกองทุนแทนผู้ถือหน่วยลงทุนได้เช่นกัน


โครงสร้างของกองทุนรวม ในการดำเนินกิจการจัดการลงทุน จะประกอบไปด้วย

  • บริษัทจัดการกองทุน (Investment Company)
  • นักลงทุนผู้ถือหน่วยลงทุน (Unit Holder)
  • ผู้ดูแลผลประโยชน์ (Trustee)


สารบัญ

[แก้] การลงทุนในกองทุนรวม

บริษัทจัดการกองทุนจะออกหนังสือชี้ชวนให้แก่นักลงทุน เพื่อให้นักลงทุนที่สนใจพิจารณาตัดสินใจก่อน จากนั้นบริษัทก็จะออกหน่วยลงทุน (unit trusts) มักจะออกขายราคาเริ่มต้นที่หน่วยละ 10 บาท ส่วนนักลงทุนที่สนใจในกองทุนรวมนั้นก็จะซื้อหน่วยลงทุนนั้นๆ และนักลงทุนก็ได้รับผลตอบแทนในรูปเงินปันผล (devidend)หรืออาจจะได้ในรูป กำไรส่วนต่าง (capital gain) ดอกเบี้ยรับ ส่วนลดรับ ซึ่งผลตอบแทนก็ขึ้นอยู่กับความสามารถของการบริหารโดยบริษัทจัดการกองทุนและผู้จัดการกองทุน ว่าจะมีความสามารถสร้างผลตอบแทนให้กับนักลงทุนหรือผู้ถือหน่วยลงทุนได้มากน้อยเพียงใด

[แก้] ประเภทของกองทุนรวม

[แก้] แบ่งตามการรับซื้อ

  • กองทุนปิด (Close-end Mutual Fund) เป็นกองทุนที่ขายหน่วยลงทุนให้กับนักลงทุนเป็นจำนวนจำกัดขนาด และเวลาในการไถ่ถอนหรือขายคืนให้กับบริษัทจัดการกองทุนจะกำหนดไว้ในหนังสือชี้ชวนก่อนจำหน่ายไว้แล้ว และในระหว่างเวลาที่ถือหน่วยลงทุนจะไม่สามารถขายคืนได้จนกว่าจะครบกำหนด คือกำหนดวันหมดเวลาของหน่วยลงทุนซึ่งบริษัทจัดการกองทุนจะรับซื้อตามมูลค่าที่ครบกำหนดซึ่งอาจจะมากขึ้นหรือลดลงก็ได้ แต่บางครั้งกองทุนปิดก็สามารถทำการซื้อขายได้ตลอดถ้าบริษัทจัดการกองทุนนำกองทุนปิดที่ตนเองออกขายให้กับนักลงทุน ไปจดทะเบียนไว้ในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งผู้ถือหน่วยลงทุนจะสามารถขายผ่านตลาดหลักทรัพย์ได้ซึ่งเป็นการเพิ่มสถาพคล่องให้กับผู้ถือหน่วยได้อีกทางหนึ่ง
  • กองทุนเปิด (Open-end Mutual Fund) เป็นกองทุนที่ขายหน่วยลงทุนให้นักลงทุนเป็นไม่จำกัดขนาดและเวลาในการไถ่ถอน คือนักลงทุนสามารถที่จะซื้อหรือจะขายเมื่อไหร่ก็ได้และระยะเวลาของหน่วยลงทุนจะไม่มีกำหนด โดยไม่ต้องจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์ สามารถซื้อขายผ่านบริษัทหลักทรัพย์นั้นๆได้เลย

[แก้] แบ่งตามนโยบายการลงทุน

  • กองทุนตราสารหนี้ (General fixed income fund) เป็นกองทุนที่ขายหน่วยลงทุนให้กับนักลงทุนเพื่อนำเงินไปลงทุนในตราสารหนี้ ตราสารหนี้ภาครัฐบาล และ ตราสารหนี้ภาคเอกชน เช่น พันธบัตรรัฐบาล หุ้นกู้ ผลตอบแทนที่จะอยู่ในรูปดอกเบี้ยรับที่จะไปเพิ่มมูลค่าหน่ายลงทุนสุทธิ (Net Asset Value) หรือ (NAV) ให้สูงขึ้น
    • กองทุนตราสารหนี้ระยะสั้น (Short-term fixed income fund) เป็นกองทุนที่ขายหน่วยลงทุนให้กับนักลงทุนเพื่อนำเงินไปลงทุนในตราสารหนี้ระยะสั้นที่มีอายุไม่เกิน 1 ปี
    • กองทุนตราสารหนี้ระยะยาว (Long-term fixed income fund) เป็นกองทุนที่ขายหน่วยลงทุนให้กับนักลงทุนเพื่อนำเงินไปลงทุนในตราสารหนี้ระยะยาวที่มีอายุมากกว่า 1 ปี สำหรับนักลงทุนที่ต้องการลงทุนในระยะยาว
  • กองทุนตราสารทุน (Equity fund) เป็นกองทุนที่ขายหน่วยลงทุนให้กับนักลงทุนเพื่อนำเงินไปลงทุนในตราสารทุน ประเภทหุ้นสามัญ ที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ผลตอบแทนที่ได้ขึ้นอยู่กับบริษัทจัดการกองทุนว่าจะเป็นผลตอบแทนประเภทจ่ายเงินปันผล (dividend) หรือจากกำไรส่วนต่าง (capital gain)
  • กองทุนตลาดการเงิน (Money market fund) เป็นกองทุนที่ขายหน่วยลงทุนให้กับนักลงทุนเพื่อนำเงินไปลงทุนในตลาดการเงิน เช่นฝากธนาคารหรือนำไปลงทุนในตราสารหนี้ระยะสั้นที่มีอายุไม่เกิน 1 ปี ผลตอบแทนที่ได้จะอยู่ในรูปดอกเบี้ยรับซึ่งจะไปเพิ่มมูลค่าให้กับหน่วยลงทุนสุทธิ (Net Asset Value) หรือ (NAV) ราคาหน่วยลงทุนจะเพิ่มขึ้นนั้นเอง และมีลักษณะคล้ายๆกับกองทุนตราสารหนี้ระยะสั้นอีกด้วย แต่ที่ต่างกันคือ กองทุนตลาดการเงินจะเอาเงินบางส่วนไปฝากไว้กับธนาคารที่ให้ดอกเบี้ยสูงอีกด้วย
  • กองทุนอสังหาริมทรัพย์ (Property fund) เป็นกองทุนที่ขายหน่วยลงทุนให้กับนักลงทุนเพื่อนำเงินไปลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ โดยการนำเงินที่ได้ไปเช่าในระยะยาว 20-30 ปี ในอาคารหรือที่ดินที่เป็นประโยชน์และผลตอบแทนที่ได้คือ ค่าเช่าจากการนำไปทำประโยชน์ ผู้ถือหน่ายจะได้รับผลตอบแทนในรูปเงินปันผล (devidend) ในแต่ละปี แต่กองทุนนี้จะให้ผลตอบแทนในระยะยาว ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปกองทุนปิด และนำไปจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เพื่อสร้างสภาพคล่องให้แก่ผู้ที่ถือหน่วยลงทุนและเปิดโอกาสให้กับผู้ที่ต้องการซื้อหน่วยลงทุนได้อีกด้วย
  • กองทุนทองคำ (Gold fund) เป็นกองทุนที่ขายหน่วยลงทุนให้กับนักลงทุนเพื่อนำเงินไปลงทุนในทองคำ ซึ่งผู้ที่ถือหน่วยจะไม่ได้ถือทองคำจริงๆ แต่จะถือในรูปหน่วยลงทุนซึ่งผลตอบแทนที่ได้จากกองทุนทองคำคือมูลค่าที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งอยู่ในรูปกำไรส่วนต่าง (capital gain)
  • กองทุนที่ลงทุนในต่างประเทศ (Foreign investment fund) หรือ (FIF) เป็นกองทุนที่จะนำเงินไปลงทุนในต่างประเทศทั้งใน ตลาดเงิน ตลาดทุน ทองคำ หรือ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ผลตอบแทนที่ได้จะต้องนำมาคำนวณในอัตราแลกเปลี่ยนอีกต่อหนึ่งด้วย ซึ่งผลกำไรอาจจะเท่าทุนก็เป็นได้ถ้าขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนมาชดเชยกำไรที่ได้ ดังนั้นกองทุนที่ลงทุนในต่างประเทศอาจมีข้อเสียจากความเสียงในอัตราแลกเปลี่ยน แต่ก็มีผลดีก็คือเป็นการกระจายการลงทุนออกไปนอกประเทศ ซึ่งเป็นการลดความเสี่ยงจากเศรษฐกิจภายในประเทศได้อีกทางหนึ่งด้วย
  • กองทุนแบบผสม (Flixible Fund) เป็นกองทุนที่ลงทุนแบบผสมผสาน โดยจะกำหนดให้ลงทุนในตราสารทุนไม่เกินกว่าร้อยละ 65 แต่ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 ที่เหลือนำไปลงทุนในตราสารอื่นได้ตามความเหมาะสม ขึ้นอยู่กับนโยบายของผู้จัดการกองทุน
  • กองทุนผสมแบบยืดหยุ่น (Balance Fund) เป็นกองทุนที่ลงทุนแบบผสมผสานเช่นเดียวกันกองทุนแบบผสม แต่ไม่ได้กำหนดของเขตการลงทุนในตราสารทุนหรือตราสารหนี้ในสัดส่วนเท่าใด การแบ่งสัดส่วนการลงทุนขึ้นอยู่กับผู้จัดการกองทุน
  • กองทุนอิงดัชนี (Index Fund) เป็นกองทุนที่ลงทุนในตราสารทุน แต่จะให้น้ำหนักการลงทุนให้เท่ากับดัชนี นั้นๆ หรือเหนือกว่า ส่วนใหญ่จะอ้างอิงกับ SET50index บริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่ 50 อันแรกในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งวัดกันที่ขนาดมูลบริษัทจดทะเบียนในตลาด หรือ Merket cap ซึ่งการลงทุนในดัชนี SET50index นี้ส่วนใหญ่มุ่งที่จะชนะตลาดในระยะยาว ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้จัดการกองทุนนั้นๆ ผลตอบแทนที่ได้คือกำไรส่วนต่างราคา(capital gain)
  • กองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund) หรือ (RMF) เป็นกองทุนรวมที่มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการออมระยะยาวเพื่อการเลี้ยงชีพของผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ที่ถือหน่วยลงทุนจะได้รับคืนตอนอายุ 60 ปี แต่กองทุนนี้จะได้รับสิทธิ์พิเศษในการลดหย่อนภาษี
  • กองทุนหุ้นระยะยาว (Long term Equity Fund) หรื่อ (LTF) กองทุนรวมตราสารแห่งทุนที่นำเงินที่ได้จากการจำหน่ายหน่วยลงทุนไปลงทุนในหรือมีไว้ซึ่งหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนไม่ต่ำกว่า65% ของ NAV และต้องถืออย่างน้อย 5 ปีถึงจะไถ่ถอนคืนได้ แต่กองทุนก็ได้รับสิทธิ์เหมือน (RMF) ในการลดหย่อนภาษีได้เหมือนกัน

[แก้] ผลตอบแทนจากการลงทุน

  • กำไรส่วนต่าง (Capital Gain)

เกิดจากการที่ราคาหลักทรัพย์หรือหน่วยลงทุนที่เราถือนั้นสูงขึ้น แล้วถ้าเราขายเราจะเรียกว่ากำไรส่วนต่างหรืออาจจะเรียกอีกอย่างได้ว่า กำไรส่วนเกินทุน

  • เงินปันผล (Devidend)

เงินที่จ่ายให้ผู้ถือหน่วยลงทุนหรือถือหลักทรัพย์ซึ่งได้มาจากการดำเนินงานของบริษัท ซึ่งบริษัทจะนำกำไรที่ได้มาจ่ายให้กับผู้ถือหน่วยลงทุนหรือหลักทรัพย์ต่ามที่ได้กำหนดเอาไว้

  • ดอกเบี้ยรับ (Interest Received)

ได้จากการที่ผู้ถือหน่วยลงทุนหรือหลักทรัพย์นั้นได้รับดอกเบี้ยรับ ตามอัตราดอกเบี้ยที่กำหนดเอาไว้

  • ส่วนลดรับ (Discount Earned)

ได้จากการที่เราซื้อในราคาลดหรือถูกว่าราคาหน้าตั๋วสัญญาซึ่งเป็นราคาในการไถ่ถอนคืน เมื่อเราซื้อถูกเวลาไปไถ่ถอนในราคาหน้าตั๋วเราก็จะได้ส่วนต่าง ตัวอย่างเช่น ราคาหน้าตั๋ว 100 บาท แต่เราซื้อลดที่ 95 บาท เมือถึงกำหนดเราไปไถ่ถอนในราคา 100 บาท จะเท่ากับว่าเราได้กำไร 5 บาทนั่นเอง

[แก้] ความเสี่ยงจากการลงทุน

ความเสี่ยงเกิดจากผลตอบแทนที่ได้รับนั้นน้อยกว่าที่คาดหวัง หรือ อาจถึงขั้นขาดทุนเลยก็เป็นได้ ซึ่งความเสียงนี้นักลงทุนต้องมีภาวะการยอมรับตั้งแต่เนินๆแล้วว่า การลงทุนมีความเสี่ยงเสมอ ยิ่งผลตอบแทนมากความเสียงก็ยิ่งมาก ผลตอบแทนน้อยความเสี่ยงก็น้อยตาม ดังนั้นใครที่ต้องการผลตอบแทนมากก็แสดงว่าสามารถที่จะยอมรับความเสี่ยงได้มากเช่นกัน ซึ่งความเสียงเป็นสิ่งที่คาดไม่ถึง สถาวะเศรษฐกิจ อัตราแลกเปลี่ยน ความผิดพลาดของบริษัทจัดการกองทุน หรือความเสี่ยงจากความไม่รู้ของนักลงทุนก็ถือว่าเป็นความเสียง ซึ่งเราสามารถแบ่งความเสียงได้ดังนี้ กองทุนตราสารทุน มีความเสียงมากกว่า กองทุนตราสารหนี้ และ ตราสารตลาดเงิน แต่ในขณะเดียวกันผลตอบแทนจากกองทุนตราสารทุนก็มีความเสี่ยงมากกว่า กองทุนตราสารหนี้ และ ตราสารตลาดเงิน ด้วย

เกิดจากการที่มูลค่าของหลักทรัพย์ในตราสารทุน เช่น หุ้น มีมูลค่าลดต่ำลง

เกิดจากการที่มูลค่าของดอกเบี้ยที่จะได้รับ เช่น พันธบัตรรัฐบาล หุ้นกู้ ลดลง หรือ ผู้ออกตราสารหนี้ไม่สามารถชำระดอกเบี้ยได้

[แก้] บทบาทของกองทุนรวมที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ

กองทุนรวมเปรียบเสมือนเครื่องมือในการรวบรวมเงินออมจากนักลงทุน นำไปกระจายเข้าสู่ระบบแก่ผู้ที่ต้องการทุนหรื่อหน่วยธุรกิจ เมื่อนำไปลงทุน ซึ่งการลงทุนนี้เป็นส่วนสำคัญในทางเศรษฐศาสตร์ เป็นตัวแปรหนึ่งในผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศหรือ (GDP) การลงทุนที่เกิดขึ้นย่อมส่งผลให้มีการจ้างงานเกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจทำให้มีการกระจายรายได้ หน่ายธุรกิจที่ลงทุนจะช่วยในการกระจายทรัยากรทีมีจำกัดไปสู่ระบบเศรษฐกิจอีกด้วย ฉะนั้นกองทุนรวมจึงมีส่วนสำคัญในการช่วยพัฒนาเศรษฐกิจโดยตรง เพราะเงินที่นำเข้าสู่ระบบผ่านกองทุนรวมนี้ จะทำให้เกิด การลงทุน การจ้างงาน และ การบริโภคที่สูงขึ้น ก่อให้เกิดผลกระทบเป็นลูกโซ่ในระบบเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง

[แก้] อ้างอิง

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น


 กองทุนรวม เป็นบทความเกี่ยวกับ เศรษฐศาสตร์ การเงิน ธุรกิจ หรือ การค้า ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
ข้อมูลเกี่ยวกับ กองทุนรวม ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ

Static Wikipedia (no images)

aa - ab - af - ak - als - am - an - ang - ar - arc - as - ast - av - ay - az - ba - bar - bat_smg - bcl - be - be_x_old - bg - bh - bi - bm - bn - bo - bpy - br - bs - bug - bxr - ca - cbk_zam - cdo - ce - ceb - ch - cho - chr - chy - co - cr - crh - cs - csb - cu - cv - cy - da - de - diq - dsb - dv - dz - ee - el - eml - en - eo - es - et - eu - ext - fa - ff - fi - fiu_vro - fj - fo - fr - frp - fur - fy - ga - gan - gd - gl - glk - gn - got - gu - gv - ha - hak - haw - he - hi - hif - ho - hr - hsb - ht - hu - hy - hz - ia - id - ie - ig - ii - ik - ilo - io - is - it - iu - ja - jbo - jv - ka - kaa - kab - kg - ki - kj - kk - kl - km - kn - ko - kr - ks - ksh - ku - kv - kw - ky - la - lad - lb - lbe - lg - li - lij - lmo - ln - lo - lt - lv - map_bms - mdf - mg - mh - mi - mk - ml - mn - mo - mr - mt - mus - my - myv - mzn - na - nah - nap - nds - nds_nl - ne - new - ng - nl - nn - no - nov - nrm - nv - ny - oc - om - or - os - pa - pag - pam - pap - pdc - pi - pih - pl - pms - ps - pt - qu - quality - rm - rmy - rn - ro - roa_rup - roa_tara - ru - rw - sa - sah - sc - scn - sco - sd - se - sg - sh - si - simple - sk - sl - sm - sn - so - sr - srn - ss - st - stq - su - sv - sw - szl - ta - te - tet - tg - th - ti - tk - tl - tlh - tn - to - tpi - tr - ts - tt - tum - tw - ty - udm - ug - uk - ur - uz - ve - vec - vi - vls - vo - wa - war - wo - wuu - xal - xh - yi - yo - za - zea - zh - zh_classical - zh_min_nan - zh_yue - zu -

Static Wikipedia 2007 (no images)

aa - ab - af - ak - als - am - an - ang - ar - arc - as - ast - av - ay - az - ba - bar - bat_smg - bcl - be - be_x_old - bg - bh - bi - bm - bn - bo - bpy - br - bs - bug - bxr - ca - cbk_zam - cdo - ce - ceb - ch - cho - chr - chy - co - cr - crh - cs - csb - cu - cv - cy - da - de - diq - dsb - dv - dz - ee - el - eml - en - eo - es - et - eu - ext - fa - ff - fi - fiu_vro - fj - fo - fr - frp - fur - fy - ga - gan - gd - gl - glk - gn - got - gu - gv - ha - hak - haw - he - hi - hif - ho - hr - hsb - ht - hu - hy - hz - ia - id - ie - ig - ii - ik - ilo - io - is - it - iu - ja - jbo - jv - ka - kaa - kab - kg - ki - kj - kk - kl - km - kn - ko - kr - ks - ksh - ku - kv - kw - ky - la - lad - lb - lbe - lg - li - lij - lmo - ln - lo - lt - lv - map_bms - mdf - mg - mh - mi - mk - ml - mn - mo - mr - mt - mus - my - myv - mzn - na - nah - nap - nds - nds_nl - ne - new - ng - nl - nn - no - nov - nrm - nv - ny - oc - om - or - os - pa - pag - pam - pap - pdc - pi - pih - pl - pms - ps - pt - qu - quality - rm - rmy - rn - ro - roa_rup - roa_tara - ru - rw - sa - sah - sc - scn - sco - sd - se - sg - sh - si - simple - sk - sl - sm - sn - so - sr - srn - ss - st - stq - su - sv - sw - szl - ta - te - tet - tg - th - ti - tk - tl - tlh - tn - to - tpi - tr - ts - tt - tum - tw - ty - udm - ug - uk - ur - uz - ve - vec - vi - vls - vo - wa - war - wo - wuu - xal - xh - yi - yo - za - zea - zh - zh_classical - zh_min_nan - zh_yue - zu -

Static Wikipedia 2006 (no images)

aa - ab - af - ak - als - am - an - ang - ar - arc - as - ast - av - ay - az - ba - bar - bat_smg - bcl - be - be_x_old - bg - bh - bi - bm - bn - bo - bpy - br - bs - bug - bxr - ca - cbk_zam - cdo - ce - ceb - ch - cho - chr - chy - co - cr - crh - cs - csb - cu - cv - cy - da - de - diq - dsb - dv - dz - ee - el - eml - eo - es - et - eu - ext - fa - ff - fi - fiu_vro - fj - fo - fr - frp - fur - fy - ga - gan - gd - gl - glk - gn - got - gu - gv - ha - hak - haw - he - hi - hif - ho - hr - hsb - ht - hu - hy - hz - ia - id - ie - ig - ii - ik - ilo - io - is - it - iu - ja - jbo - jv - ka - kaa - kab - kg - ki - kj - kk - kl - km - kn - ko - kr - ks - ksh - ku - kv - kw - ky - la - lad - lb - lbe - lg - li - lij - lmo - ln - lo - lt - lv - map_bms - mdf - mg - mh - mi - mk - ml - mn - mo - mr - mt - mus - my - myv - mzn - na - nah - nap - nds - nds_nl - ne - new - ng - nl - nn - no - nov - nrm - nv - ny - oc - om - or - os - pa - pag - pam - pap - pdc - pi - pih - pl - pms - ps - pt - qu - quality - rm - rmy - rn - ro - roa_rup - roa_tara - ru - rw - sa - sah - sc - scn - sco - sd - se - sg - sh - si - simple - sk - sl - sm - sn - so - sr - srn - ss - st - stq - su - sv - sw - szl - ta - te - tet - tg - th - ti - tk - tl - tlh - tn - to - tpi - tr - ts - tt - tum - tw - ty - udm - ug - uk - ur - uz - ve - vec - vi - vls - vo - wa - war - wo - wuu - xal - xh - yi - yo - za - zea - zh - zh_classical - zh_min_nan - zh_yue - zu

Static Wikipedia February 2008 (no images)

aa - ab - af - ak - als - am - an - ang - ar - arc - as - ast - av - ay - az - ba - bar - bat_smg - bcl - be - be_x_old - bg - bh - bi - bm - bn - bo - bpy - br - bs - bug - bxr - ca - cbk_zam - cdo - ce - ceb - ch - cho - chr - chy - co - cr - crh - cs - csb - cu - cv - cy - da - de - diq - dsb - dv - dz - ee - el - eml - en - eo - es - et - eu - ext - fa - ff - fi - fiu_vro - fj - fo - fr - frp - fur - fy - ga - gan - gd - gl - glk - gn - got - gu - gv - ha - hak - haw - he - hi - hif - ho - hr - hsb - ht - hu - hy - hz - ia - id - ie - ig - ii - ik - ilo - io - is - it - iu - ja - jbo - jv - ka - kaa - kab - kg - ki - kj - kk - kl - km - kn - ko - kr - ks - ksh - ku - kv - kw - ky - la - lad - lb - lbe - lg - li - lij - lmo - ln - lo - lt - lv - map_bms - mdf - mg - mh - mi - mk - ml - mn - mo - mr - mt - mus - my - myv - mzn - na - nah - nap - nds - nds_nl - ne - new - ng - nl - nn - no - nov - nrm - nv - ny - oc - om - or - os - pa - pag - pam - pap - pdc - pi - pih - pl - pms - ps - pt - qu - quality - rm - rmy - rn - ro - roa_rup - roa_tara - ru - rw - sa - sah - sc - scn - sco - sd - se - sg - sh - si - simple - sk - sl - sm - sn - so - sr - srn - ss - st - stq - su - sv - sw - szl - ta - te - tet - tg - th - ti - tk - tl - tlh - tn - to - tpi - tr - ts - tt - tum - tw - ty - udm - ug - uk - ur - uz - ve - vec - vi - vls - vo - wa - war - wo - wuu - xal - xh - yi - yo - za - zea - zh - zh_classical - zh_min_nan - zh_yue - zu