ซิลิคอน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
|||||||||||||||||||||||||||||||
ทั่วไป | |||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อ, สัญลักษณ์, หมายเลข | ซิลิคอน, Si, 14 | ||||||||||||||||||||||||||||||
อนุกรมเคมี | ธาตุกึ่งโลหะ | ||||||||||||||||||||||||||||||
หมู่, คาบ, บล็อก | 14, 3, p | ||||||||||||||||||||||||||||||
ลักษณะ | ฟ้า-เทาเข้ม |
||||||||||||||||||||||||||||||
มวลอะตอม | 28.0855(3) กรัม/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Ne] 3s2 3p2 | ||||||||||||||||||||||||||||||
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน | 2, 8, 4 | ||||||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติทางกายภาพ | |||||||||||||||||||||||||||||||
เฟส | ของแข็ง | ||||||||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 2.33 ก./ซม.³ | ||||||||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. | 2.57 ก./ซม.³ | ||||||||||||||||||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 1687 K (1414 °C) |
||||||||||||||||||||||||||||||
จุดเดือด | 3538 K(3265 °C) | ||||||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการหลอมเหลว | 50.21 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการกลายเป็นไอ | 359 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนจำเพาะ | (25 °C) 19.789 J/(mol·K) | ||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติของอะตอม | |||||||||||||||||||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | Face-centered cubic | ||||||||||||||||||||||||||||||
สถานะออกซิเดชัน | 4 (amphoteric oxide) |
||||||||||||||||||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาติวิตี | 1.90 (Pauling scale) | ||||||||||||||||||||||||||||||
พลังงานไอออไนเซชัน (เพิ่มเติม) |
ระดับที่ 1: 786.5 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 2: 1577.1 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 3: 3231.6 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม | 110 pm | ||||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม (คำนวณ) | 111 pm | ||||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีโควาเลนต์ | 111 pm | ||||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีวานเดอร์วาลส์ | 210 pm | ||||||||||||||||||||||||||||||
อื่น ๆ | |||||||||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก | nonmagnetic | ||||||||||||||||||||||||||||||
การนำความร้อน | (300 K) 149 W/(m·K) | ||||||||||||||||||||||||||||||
การขยายตัวจากความร้อน | (25 °C) 2.6 µm/(m·K) | ||||||||||||||||||||||||||||||
ความเร็วเสียง (ท่อนบาง) | (20 °C) 2200 m/s | ||||||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของยังก์ | 47 GPa | ||||||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของแรงบีบอัด | 100 GPa | ||||||||||||||||||||||||||||||
ความแข็งโมห์ส | 6.5 | ||||||||||||||||||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-21-3 | ||||||||||||||||||||||||||||||
ไอโซโทปที่น่าสนใจ | |||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งอ้างอิง |
ซิลิคอน (อังกฤษ:Silicon)เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีสัญลักษณ์ Si และเลขอะตอม 14 เป็นธาตุกึ่งโลหะแบบเตตระวาเลนต์ (คือมีวาเลนซ์เป็น 4) ซิลิคอนทำปฏิกิริยาน้อยกว่าธาตุที่คล้ายกันคือคาร์บอน เป็นธาตุที่มีมากที่สุดในเปลือกโลกเป็นอันดับ 2 มีปริมาตร 25.7% โดยน้ำหนัก ปรากฏในดินเหนียว เฟลด์สปาร์ (feldspar) หินแกรนิต ควอร์ตซ์ และทราย ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของซิลิคอน ไดออกไซด์ (หรือซิลิกา) และซิลิเกต (สารประกอบที่ประกอบจากซิลิคอน ออกซิเจน และ โลหะ) ซิลิคอน เป็นส่วนประกอบหลักของแก้ว ซีเมนต์ เซรามิก, อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ส่วนใหญ่ และซิลิโคน (สารพลาสติกที่มักจะสับสนกับซิลิคอน) ซิลิคอนใช้เป็นสารกึ่งตัวนำอย่างแพร่หลาย เนื่องจาก สารกึ่งตัวนำเจอร์เมเนียมมีปัญหาเกี่ยวกับการไหลของกระแสไหลย้อนกลับ (reverse leakage current)
ซิลิคอน เป็นบทความเกี่ยวกับ เคมี ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ซิลิคอน ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |