เจอร์เมเนียม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ทั่วไป | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อ, สัญลักษณ์, หมายเลข | เจอร์เมเนียม, Ge, 32 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อนุกรมเคมี | ธาตุกึ่งโลหะ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หมู่, คาบ, บล็อก | 14, 4, p | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ลักษณะ | สีขาวอมเทา![]() |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มวลอะตอม | 72.61(1) กรัม/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Ar] 3d10 4s2 4p2 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน | 2, 8, 18, 4 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติทางกายภาพ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เฟส | ของแข็ง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 5.323 ก./ซม.³ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. | 5.60 ก./ซม.³ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 1211.40 K (938.25 °C) |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
จุดเดือด | 3106 K(2833 °C) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการหลอมเหลว | 36.94 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการกลายเป็นไอ | 334 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนจำเพาะ | (25 °C) 23.222 J/(mol·K) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติของอะตอม | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | cubic face centered | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สถานะออกซิเดชัน | 4 (amphoteric oxide) |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาติวิตี | 2.01 (Pauling scale) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พลังงานไอออไนเซชัน (เพิ่มเติม) |
ระดับที่ 1: 762 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 2: 1537.5 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 3: 3302.1 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม | 125 pm | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม (คำนวณ) | 125 pm | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีโควาเลนต์ | 122 pm | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อื่น ๆ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก | ไม่มีข้อมูล | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การนำความร้อน | (300 K) 60.2 W/(m·K) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การขยายตัวจากความร้อน | (25 °C) 6.0 µm/(m·K) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความเร็วเสียง (ท่อนบาง) | (20 °C) 5400 m/s | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความแข็งโมห์ส | 6.0 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-56-4 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ไอโซโทปที่น่าสนใจ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งอ้างอิง |
เจอร์เมเนียม (อังกฤษ:Germanium ) เป็นธาตุที่อยู่ระหว่างซิลิคอน (Si)และดีบุก (Sn)สัญลักษณ์คือ Ge ในกลุ่ม IVa ของตารางธาตุ เป็นพวกเมทัลลอยด์สีเทาเงิน มีคุณสมบัติก้ำกึ่งระหว่างโลหะ และอโลหะ
ประวัติการค้นพบ แม้ว่าเจอร์เมเนียมเพิ่งถูกค้นพบ เมื่อปีค.ศ. 1886 โดย เคลเมนส์ วิงเคลอร์ (Clemens Winkler)นักเคมีชาวเยอรมัน แต่มันก็มีคุณสมบัติและตำแหน่งในระบบตารางธาตุ ตามการทำนายมาแล้วตั้งแต่ปี 1871 โดยนักเคมีชาวรัสเซีย ชื่อ ดมิตรี อิวานอวิช เมนเดลเลเยฟ (Dmitry Ivanovich Mendeleyev) ซึ่งเขาเรียกธาตุตามสมมุติฐานนี้ว่า เอคาซิลิคอน (ekasilicon)
ธาตุเจอร์เมเนียมยังไม่มีความสำคัญในทางเศรษฐกิจจนกระทั่งหลัง ค.ศ. 1945 เมื่อมีการรับรู้ถึงคุณสมบัติที่เป็นสารกึ่งตัวนำของมัน ซึ่งมีคุณค่าสำคัญในงานอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันนี้มีการใช้สสารอื่นๆ มากมายเพื่อผลิตสารกึ่งตัวนำ แต่เจอร์เมเนียมก็ยังคงมีความสำคัญเป็นอันดับต้นๆ ในการผลิตทรานซิสเตอร์ และอุปกรณ์อื่นๆ เช่น เรกติไฟเออร์ และเซลล์แสงอาทิตย์
![]() |
เจอร์เมเนียม เป็นบทความเกี่ยวกับ เคมี ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ เจอร์เมเนียม ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |