การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอาหรับ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สารบัญ |
[แก้] พยัญชนะ
ข้อ | อักษร | ชื่ออักษร | ภาษาไทย | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
1 | ﺀ/ ا | ฮัมซะหฺ/อะลิฟ | อ, สระ อา | *ถ้าฮัมซะหฺเป็นซุกูน จะเขียนเป็น <อ์> ในภาษาไทย เช่น <มะอ์มูร> |
2 | ﺏ | บาอุ | บ | |
3 | ﺕ | ตาอุ | ต | |
4 | ﺙ | ษาอุ | ษ | |
5 | ﺝ | ญีม | ญ, จญ์ | ญะวาด, ฮัจญ์, ฮิจญ์เราะหฺ, ฮิญิร |
6 | ﺡ | ฮาอุ | ฮ | |
7 | ﺥ | คออุ | ค | |
8 | ﺩ | ดาล | ด | |
9 | ﺫ | ซาล | ซ | |
10 | ﺭ | รออุ | ร | *ถ้าสะกดด้วย ฟัตฮะหฺ ในภาษาไทยเป็น <ร่อ>
|
11 | ﺯ | ซาย | ซ |
|
12 | ﺱ | ซีน | ซ, ส |
|
13 | ﺵ | ชีน | ช | |
14 | ﺹ | ศอด | ศ |
|
15 | ﺽ | ฎอด | ฎ | ถ้าสะกดด้วยฎ็อมมะหฺ หรือฎ็อมมะหฺ+วาว ใช้ ด เป็น <ดุ> และ <ดู> เนื่องจากถ้าเขียนด้วย ฎ และ สระอุหรือสระอูแล้ว สระทั้งสอง จะไม่ปรากฏออกมา
|
16 | ﻁ | ฏออุ | ฏ |
|
17 | ﻅ | ซออุ | ซ |
|
18 | ﻉ | อัยนฺ | อ |
<มะอฺมูร> |
19 | ﻍ | ฆีน | ฆ |
|
20 | ﻑ | ฟาอุ | ฟ | |
21 | ﻕ | กอฟ | ก | |
22 | ﻙ | กาฟ | ก |
ฏ
|
23 | ﻝ | ลาม | ล | |
24 | ﻡ | มีม | ม | |
25 | ﻥ | นูน | น | |
26 | ﻭ | วาว | ว | |
27 | ﻩ | หาอุ | ฮ, ห |
|
28 | ﻯ | ยาอุ | ย |
|
[แก้] สระ
ข้อ | ชื่อสระ | เทียบกับสระไทย | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
1 | ฟัตฮะหฺ | สระอะ | |
2 | กัสเราะหฺ | สระิอิ | |
3 | ฎ็อมมะหฺ | สระอุ | |
4 | ฟัตฮะหฺ + อะลิฟ | สระอา | |
5 | กัสเราะหฺ + ยาอุ | สระอี | |
6 | ฎ็อมมะหฺ + วาว | สระอู | |
7 | ฟัตฮะหฺ + ยาอุ | อัย,เอ | ถ้าพยางค์นั้น ลงท้ายด้วยพยัญชนะ ที่เป็นซุกูน จะเป็น สระเอ เช่น <ฮุเซน> แต่ <ฮุซัยนีย์> |
8 | ฟัตฮะหฺ + วาว | เอา เช่น <เลา> |
[แก้] หมายเหตุ
- ไม้ไต่คู้และสระออ <-็อ> ใช้กับ <ฎ>, <ฏ>, <ศ> เมื่อถอดรูป ฟัตฮะห เช่น <ฎ็อ>, <ฏ็อ> <ศ็อ> และ <ก็อ> แต่อาจจะไม้ไต่คู้ละไว้ในฐานที่เข้าใจ เช่น <ฎอ>, <ฏอ> และ <ศอ>
- ไม้เอกและสระออ< -่อ> ใช้กับ <ร> เมื่อถอดรูปฟัตฮะหฺ เช่น <ร่อซูล> แต่อาจจะละไว้ในฐานเข้าใจ เช่น <รอซูล>
- จะไม่มีการใช้ <ห> นำหน้าพยัญชนะเสียงต่ำ หรือ วรรณยุกต์ เช่น <อิหม่าม>, <อะมีรุ้ลมุมินีน> หรือ <อ๊าด> ที่ถูกต้องคือ <อิมาม>, <อะมีรุลมุมินีน> และ <อาด>
- ไม่มีการตัดสระอะเมื่อถอดรูปฟัตฮะหฺ นอกจากคำว่า นบี เท่านั้น เช่น <อบูบักรฺ> จะต้องเป็น <อะบูบักรฺ>
- จะไม่ใช้ การันต์ ในการถอดรูปซุกูน นอกจากกับ <ย> และ <อ> เท่านั้น เช่น <อัลบุคอรีย์>, <มะอ์มูน>
[แก้] อ้างอิง
[แก้] หลักเกณฑ์ทับศัพท์ภาษาอาหรับของราชบัณฑิตยสถาน
- ข้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ เว็บไซต์ราชบัณฑิตยสถาน
เขียนคำทับศัพท์ ตามระบบราชบัณฑิตฯ |
- หลักเกณฑ์นี้ใช้เสียงภาษาอาหรับที่เขียนด้วยอักษรโรมัน
- การเทียบเสียงสระ ให้ถือตามตารางการเทียบเสียงสระภาษาอาหรับ
- การเทียบเสียงพยัญชนะ ให้ถือตามตารางการเทียบเสียงพยัญชนะภาษาอาหรับ
- คำหลายพยางค์ที่พยางค์หน้าลงท้ายด้วยพยัญชนะและพยางค์ถัดไปขึ้นต้นด้วยสระ เมื่อออกเสียงต้องออกเสียงเนื่องกัน ให้ถอดตามเสียงที่ออกเนื่องกันนั้น เช่น
-
-
-
-
-
-
-
-
- Zab al-Kabīr = ซะบัลกะบีร์
- Zab al-Kabīr = ซะบัลกะบีร์
-
-
-
-
-
-
-
- ยกเว้นเมื่อพยางค์หน้าเป็น Al ซึ่งเป็นคำนำหน้านาม ไม่ออกเสียงเนื่องกัน ให้ถอดตามเสียงที่ออกแยกกันนั้น เช่น
-
-
-
-
-
-
-
- Al-Ahmadī = อัลอะห์มะดี
-
-
-
-
-
-
-
-
[แก้] ตารางการเทียบเสียงสระภาษาอาหรับ
สระ | เสียง | ตัวอย่างคำ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
A | |||
a, ‘a | อะ | katab = กะตับ | |
a [เมื่อตามหลังพยัญชนะ ḍ, ġ (gh), ḫ (kh), q, r, ṣ, ṭ และ ẓ] |
ออ |
ḍarab = ดอรอบ |
|
ā | อา | kātib = กาติบ | |
ā [เมื่อตามหลังพยัญชนะ ḍ, ġ (gh), ḫ (kh), q, r, ṣ, ṭ และ ẓ] |
ออ | ḍārib = ดอริบ ġārib = กอริบ ḫādim = คอดิม qāsid = กอซิด rāsil = รอซิล ṣāhib = ซอฮิบ ṭālib = ตอลิบ ẓālim = ซอลิม |
|
ah [เมื่อตามหลังพยัญชนะ ḍ, ġ (gh), ḫ (kh), q, r, ṣ, ṭ และ ẓ] |
เอาะห์ | Rahmān = เราะห์มาน ṣadaqah = ซอดะเกาะห์ |
|
ai, ay | ไอ | laisa = ไลซะ | |
ai, ay [เมื่อตามหลังพยัญชนะ ḍ, ġ (gh), ḫ (kh), q, r, ṣ, ṭ และ ẓ] |
ออย | ḫair = คอยร์ Qaiṣar = กอยซอร์ raib = รอยบ์ ṣaif = ซอยฟ์ uẓaim = อูซอยม์ |
|
ar (เมื่ออยู่พยางค์ท้าย) | อาร์ | kassar = กัสซาร์ | |
au, aw | เอา | lau = เลา saww = เซาว์ qaul = เกาล์ |
|
สระ | เสียง | ตัวอย่างคำ | หมายเหตุ |
I | |||
i | อิ | kitāb = กิตาบ misbāh = มิสบาห์ |
|
ī | อี | karīm = กะรีม | |
ia, ya | เอีย | ziarah = เซียเราะห์ Al-Minya = อัลมิเนีย |
|
iah, yah | อียะห์ | Al-Iskandariyah = อัลอิสกันดะรียะห์ | |
ir (เมื่ออยู่พยางค์ท้าย) | อีร์ | ẓahir = ซอฮีร์ | |
สระ | เสียง | ตัวอย่างคำ | หมายเหตุ |
U | |||
u | อุ | durib = ดุริบ | |
ū | อู | madrūb = มะดรูบ | |
ua | อัว | qua = กัว | |
uah | อูวะห์ | quah = กูวะห์ | |
uai, uay | อูไว | suaida = ซูไวดา | |
ur (เมื่ออยู่พยางค์ท้าย) | อูร์ | masrur = มัสรูร์ | |
uw | อูว์ | quww = กูว์ |
[แก้] ตารางเทียบเสียงพยัญชนะภาษาอาหรับ
พยัญชนะ | พยัญชนะต้น | ตัวสะกดและตัวการันต์ | หมายเหตุ | ||
---|---|---|---|---|---|
เสียง | ตัวอย่างคำ | เสียง | ตัวอย่างคำ | ||
à | อ | àālam = อาลัม | อ์ | jashaà = จะชะอ์ | |
b | บ | bait = ไบต์ | บ | ḏahab = ซะฮับ | |
d | ด | dalīl = ดะลีล | ด | mamdūd = มัมดูด | |
ḏ, dh | ซ | ḏahab = ซะฮับ | ซ | nabaḏ = นะบัซ | |
ḍ | ด | ḍamir = ดอมีร์ | ด | mumarriḍ = มุมะร์ริด | |
f | ฟ | fahim = ฟะฮิม | ฟ | ḫarīf = คอรีฟ | |
ġ, gh | ก | ġarīb = กอรีบ | ก | bāliġ = บาลิก | |
h | ฮ | harab = ฮะรอบ | ห์ | masmūh = มัสมูห์ | |
ḥ | ฮ | ḥārim = ฮาริม | ห์ | milḥ = มิลห์ | |
ḫ, kh | ค | ḫāmr = คอมร์ | ค | shaiḫ = ไชค์ | |
j | จ | jamīl = จะมีล | จ | mamzūj = มัมซูจ | |
k | ก | karīm = กะรีม | ก | matrūk = มะตรูก | |
l | ล | lām = ลาม | ล | maqtūl = มักตูล | |
m | ม | mani = มานิ | ม | karīm = กะรีม | |
n | น | nur = นูร์ | น | zaman = ซะมาน | |
q | ก | qalam = กอลัม | ก | ufuq = อุฟุก | |
r | ร | rakib = รอกิบ | ร์ | wazir = วะซีร์ | |
s | ซ | salam = ซะลาม | ส | mahsūs = มะห์ซูส | |
ṣ | ซ | ṣarūk = ซอรูก | ส | luṣuṣ = ลุซุส | |
š, sh | ช | šamš = ชัมช์ | ช | mušammaš = มุชัมมัช | |
t | ต | tarak = ตะรอก | ต | nabātāt = นะบาตาต | |
ṯ | ซ | ṯaliṯ = ซาลิซ | ซ | mabauṯ = มะเบาซ์ | |
ṭ | ต | ṭaàām = ตออาม | ต | Lūṭ = ลูต | |
w | ว | waṣal = วะซอล | ว | jaww = เจาว์ | |
y | ย | yatīm = ยะตีม | - | - | |
z | ซ | zaman = ซะมาน | ซ | ramz = รอมซ์ | |
ẓ | ซ | ẓahīr = ซอฮีร์ | ซ | mahfūẓ = มะห์ฟูซ |