จตุปัจจัย
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ส่วนหนึ่งของ ประวัติพุทธศาสนา |
|
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา | |
เพื่อความดับทุกข์ · นิพพาน |
|
ใจความสำคัญของพุทธศาสนา | |
ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส |
|
ไตรสรณะ | |
ความเชื่อและการปฏิบัติ | |
ศีล · ธรรม ศีลห้า · ศีลแปด บทสวดมนต์และพระคาถา |
|
คัมภีร์และหนังสือ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก |
|
นิกาย | |
เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน | |
สังคมพุทธศาสนา | |
เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล | |
ดูเพิ่มเติม | |
ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา หมวดหมู่พุทธศาสนา |
จตุปัจจัย แปลว่า ปัจจัย ๔ เครื่องอาศัยของบรรพชิต ๔ อย่าง
จตุปัจจัย หมายถึงสิ่งของสำหรับใช้สอยที่จำเป็นสำหรับภิกษุสามเณร ซึ่งภิกษุสามเณรต้องอาศัยเป็นอยู่ มี ๔ อย่าง
[แก้] จตุปัจจัย ได้แก่
- จีวร คือ เครื่องนุ่งห่ม ได้แก่ ไตรจีวร ผ้าห่ม ผ้าอาบน้ำฝน
- บิณฑบาต คือ อาหาร ได้แก่ ข้าว น้ำ ผลไม้ เป็นต้น
- เสนาสนะ คือ ที่นอนที่นั่ง คือ กุฏิ ศาลา เตียง ตั่ง หมอน เป็นต้น
- คิลานเภสัช คือ ยารักษาโรค
ปัจจัยเหล่านี้เป็นของควรถวายหรือเป็นของที่สามารถถวายภิกษุสามเณรได้ จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปัจจัยไทยทาน
[แก้] อ้างอิง
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
[แก้] ดูเพิ่ม
- เกษม บุญศรี จตุปัจจัย สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานเล่ม 7 พ.ศ. 2535 หน้า 4415-4437