ภาษาคีร์กิซ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาคีร์กิซ (кыргыз тили kyrgyz tili) | ||
---|---|---|
พูดใน: | คีร์กีซสถาน, อัฟกานิสถาน, ทาจิกิสถาน, เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ (จีน) | |
จำนวนคนพูดทั้งหมด: | 3,136,733 (2536) | |
ตระกูลของภาษา: | ภาษากลุ่มอัลตาอิก[1] ภาษากลุ่มเตอร์กิก ภาษากลุ่มคีร์กิซ-อัลไต หรือ ภาษากลุ่มคีร์กิซ-เคียบชาค ภาษาคีร์กิซ |
|
สถานะทางการ | ||
ภาษาราชการของ: | คีร์กีซสถาน | |
องค์กรควบคุม: | ไม่มี | |
รหัสภาษา | ||
ISO 639-1: | ky | |
ISO 639-2: | kir | |
ISO/DIS 639-3: | kir | |
หมายเหตุ: หน้านี้อาจจะมีตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ IPA ในลักษณะยูนิโคด |
ภาษาคีร์กิซ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภาษาราชการของประเทศคีร์กีซสถานคู่กับภาษารัสเซีย มีผู้พูด 7 ล้านคน ในคีร์กีซสถานจีน อัฟกานิสถาน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน ตุรกี อุซเบกิสถาน ปากีสถานและรัสเซีย เขียนด้วยอักษรซีริลลิกดัดแปลงในคีร์กิซสถาน และอักษรอาหรับดัดแปลงในจีน เคยเขียนด้วยอักษรละตินในช่วง พ.ศ. 2471 - 2483 หลังจากคีร์กิซสถานได้รับเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2534 มีผู้เสนอให้ใช้อักษรละตินอีกแต่ไม่สำเร็จ
สารบัญ |
[แก้] สระ
สระหน้า | สระกลาง1 | สระหลัง | |||
---|---|---|---|---|---|
ปากไม่ห่อ | ปากห่อ | ปากไม่ห่อ | ปากห่อ | ||
Close | и [i] | ү [y] | ы [ɯ] | у [u] ю [ju] | |
mid | э [e] е [je] | ө [ø] | о [o] ё [jo] | ||
open | а [ɑ] я [jɑ] |
[แก้] พยัญชนะ
หน่วยเสียงพยัญชนะภาษาคีร์กิซ:
Bilabial | เสียงเกิดจากฟัน/ alveolar |
Post- alveolar |
Palatal | Velar/ uvular consonant|uvular |
|
---|---|---|---|---|---|
plosive | п б [p] [b] |
т д [t] [d] |
к г [k]/[q] [g]/[ʁ] |
||
เสียงนาสิก | м [m] |
н [n] |
ң [ŋ] |
||
trill | р [r] |
||||
เสียงในลำคอ (fricative) | (ф) (в) ([f]) ([v]) |
с з [s] [z] |
ш [ʃ] |
х [χ] |
|
affricate | ч ж [t͡ʃ] [d͡ʒ] |
||||
approximant | л [l] |
й [j] |
[แก้] ระบบการเขียน
ใช้อักษรซีริลลิกดัดแปลงดังนี้:
Capital | Small | Name | Sound |
---|---|---|---|
Ң | ң | ңэ | /ŋ/ |
Ү | ү | ү | /y/ |
Ө | ө | ө | /ø/ |
А Б (В) Г Д Е Ё Ж З И Й К Л М Н Ң О Ө П Р С Т У Ү (Ф) Х Ц Ч Ш Щ (Ъ) Ы (Ь) Э Ю Я
[แก้] อ้างอิง
- Library of Congress, Country Studies, Kyrgyzstan
- Comrie, Bernard. 1983. The languages of the Soviet Union. Cambridge: Cambridge University Press
- Beckwith, Christopher I. 1987/1993. "The Tibetan Empire in Central Asia." Princeton: Princeton University Press