ภาษาทมิฬ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาทมิฬ (தமிழ் ทมิฬ) |
||||
---|---|---|---|---|
การออกเสียง (IPA): | //t̪ɐmɨɻ// | |||
พูดใน: | อินเดีย และศรีลังกา และมีบางส่วนใน สิงคโปร์ มาเลเซีย มอริเชียส แอฟริกาใต้ | |||
ดินแดน: | รัฐทมิฬนาดู และรัฐที่ติดกัน | |||
จำนวนคนพูดทั้งหมด: | 74 ล้าน (พ.ศ. 2542) | |||
อันดับ: | 13-17 ใกล้เคียงกับ ภาษาเกาหลี ภาษาเวียดนาม ภาษาเตลูกู และ ภาษามาราธี | |||
ตระกูลของภาษา: | ดราวิเดียน ดราวิเดียนใต้ ทมิฬ-คันนาดา ทมิฬ-โคดากู ทมิฬ-มาลายาลัม ภาษาทมิฬ |
|||
สถานะทางการ | ||||
ภาษาราชการของ: | อินเดีย ศรีลังกา และ สิงคโปร์ | |||
องค์กรควบคุม: | รัฐบาลของรัฐทมิฬนาดู และสถานศึกษาหลายแห่ง | |||
รหัสภาษา | ||||
ISO 639-1: | ta | |||
ISO 639-2: | tam | |||
ISO/DIS 639-3: | tam | |||
|
ภาษาทมิฬ เป็นหนึ่งใน ภาษากลุ่มดราวิเดียน เป็นหนึ่งในภาษาคลาสสิกของโลก วรรณกรรมภาษาทมิฬได้มีมาเป็นเวลา 2500 ปีแล้ว และเป็นภาษาคลาสสิกภาษาแรกที่มีพัฒนาการเขียนแบบเฉพาะสำหรับบทกวี
เสียง "l" ในคำว่า "Tamil" ออกเสียง "คล้าย" กับ "ร" กล่าวคือ ออกเสียงโดยให้ปลายลิ้นส่วนล่างติดกับเพดานปาก และมักจะเขียนเป็น "zh" ในอักษรโรมัน (ตรงกับเสียง j ในภาษาฝรั่งเศส ส่วนภาษาไทยไม่มีเสียงที่เทียบได้ตรง) เชื่อว่าอักษร 'ழ' ซึ่งพบใน 'தமிழ்' (ทมิฬ) มีการออกเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ที่ไม่พบในภาษาอื่น ๆ ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ อักษรทมิฬ
ภาษาทมิฬ เป็นบทความเกี่ยวกับ ภาษา หรือ ตัวอักษร ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ภาษาทมิฬ ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |