พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
-
สำหรับบิดาของพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของไทย ดูที่ พระยาพหลพลพยุหเสนา (กิม พหลโยธิน)
พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) | |
นายกรัฐมนตรี คนที่ 2
|
|
ดำรงตำแหน่ง 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 – 11 กันยายน พ.ศ. 2481 (ยุบสภา) |
|
สมัยก่อนหน้า | พระยามโนปกรณ์นิติธาดา |
---|---|
สมัยถัดไป | จอมพล ป. พิบูลสงคราม |
|
|
เกิด | 29 มีนาคม พ.ศ. 2430 พระนคร, ประเทศไทย |
ถึงแก่อสัญกรรม | 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 |
สมรสกับ | ท่านผู้หญิงบุญหลง พลพยุหเสนา |
พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "พจน์ พหลโยธิน" เกิดวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2430 เวลา 03.30 น. ณ บ้านหน้าวัดราชบูรณะ จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา (กิม พหลโยธิน) กับท่านผู้หญิงจับ พหลโยธิน สมรสกับท่านคุณหญิงบุญหลง พลพยุหเสนา ถึงแก่อสัญกรรมด้วยเส้นโลหิตในสมองแตก เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 รวมอายุ ได้ 60 ปี
สารบัญ |
[แก้] การศึกษา
- โรงเรียนวัดจักรวรรดิราชาวาส (วัดสามปลื้ม)
- โรงเรียนสุขุมาลวิทยาลัย
- โรงเรียนนายร้อยทหารบก
- พ.ศ. 2446 โรงเรียนนายร้อยทหารบก เมืองโกรสลิสเตอร์ เฟล เด ประเทศเยอรมนี
- พ.ศ. 2455 โรงเรียนช่างเเสง ประเทศเดนมาร์ก (1 ปีก็ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากเงินทุนการศึกษาไม่เพียงพอ)
[แก้] ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
- สมัยที่ 1 : 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
- สมัยที่ 2 : 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 22 กันยายน พ.ศ. 2477
- สมัยที่ 3 : 22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
- สมัยที่ 4 : 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
- สมัยที่ 5 : 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
[แก้] ประวัติการทำงาน
- พ.ศ. 2453 ประจำกรมทหารปืนใหญ่ที่ 4 ประเทศเยอรมนี
- พ.ศ. 2457 ประจำกรมทหารปืนใหญ่ที่ 4 จังหวัดราชบุรี
- พ.ศ. 2458 ผู้บังคับการกองร้อยที่ 2 กรมทหารปืนใหญ่ บางซื่อ พระนคร
- พ.ศ. 2460 ผู้บังคับการกรมทหารปืนใหญ่ที่ 9 จังหวัดฉะเชิงเทรา
- พ.ศ. 2461 ผู้บังคับการกรมทหารปืนใหญ่ที่ 2
- พ.ศ. 2469 ผู้อำนวยการแผนกโรงเรียนทหารปืนใหญ่ จ.ลพบุรี
- ในชีวิตราชการนั้นได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงและพระตามลำดับในราชทินนามเดียวกันว่า "สรายุทธสรสิทธิ์"
- วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2471 ได้เลื่อนยศทางทหารเป็น พันเอก
- วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2471 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เป็นองครักษ์เวร
- พ.ศ. 2473 จเรทหารปืนใหญ่
- วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นพระยาพหลพลพยุหเสนา มีราชทินนามเดียวกับบิดา
- พ.ศ. 2475 ผู้บัญชาการทหารบก
- พ.ศ. 2487 แม่ทัพใหญ่มีอำนาจสิทธิ์ขาด บังคับบัญชาแม่ทัพบก แม่ทัพเรือ แม่ทัพอากาศ และตำรวจสนามตามกฏอัยการศึก
[แก้] บทบาททางการเมือง
- วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ได้ร่วมกับคณะราษฎรโดยเป็นหัวหน้าคณะราษฎรทำการยึดอำนาจเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย จนได้รับฉายาว่า " เชษฐบุรุษประชาธิปไตย " จากบทบาทที่มีค่อนข้างสูงในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
- วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี สมัยที่ 1 โดยการทำรัฐประหารรัฐบาลของ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
- วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี สมัยที่ 2
- วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี สมัยที่ 3
- พ.ศ. 2477 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
- พ.ศ. 2478 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
- วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี สมัยที่ 4 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ
- วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี สมัยที่ 5
- วันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2481 ยุบสภาและลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
- พ.ศ. 2487 แม้พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนาจะวางมือจากตำแหน่งสูงสุดทางการเมืองแล้ว ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ท่านได้ดำรงตำแหน่งแม่ทัพใหญ่ และได้รับยศ พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา
[แก้] ดูเพิ่ม
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
- ประวัติที่เว็บไซต์ทำเนียบรัฐบาล
- ประวัติที่เว็บไซต์สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
- ประวัติที่เว็บไซต์รัฐสภาสำหรับเยาวชน-ยุวชนรัฐสภา
- ประวัติที่เว็บไซต์สถานทูตไทย ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา
สมัยก่อนหน้า: พระยามโนปกรณ์นิติธาดา |
นายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2476 - พ.ศ. 2481 |
สมัยถัดไป: จอมพล ป. พิบูลสงคราม |
สมัยก่อนหน้า: พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร |
ผู้บัญชาการทหารบก 6 สิงหาคม พ.ศ. 2475 - 4 มกราคม พ.ศ. 2481 |
สมัยถัดไป: จอมพล หลวงพิบูลสงคราม (จอมพล แปลก พิบูลสงคราม) |
สมัยก่อนหน้า: พลโท พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต |
ผู้บัญชาการทหารบก 25 สิงหาคม พ.ศ. 2487 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2489 |
สมัยถัดไป: พลเอก อดุล อดุลเดชจรัส (บัตร พึ่งพระคุณ) |
สมุหพระกลาโหม | เจ้าพระยามหาเสนา (ปลี) · เจ้าพระยามหาเสนา (บุนนาค) · เจ้าพระยามหาเสนา (ปิ่น) · เจ้าพระยามหาเสนา (บุญมา) · เจ้าพระยาวรวงศาสุรศักดิ์ (แสง วงศาโรจน์) · เจ้าพระยามหาเสนา (สังข์) · เจ้าพระยามหาเสนา (น้อย) · สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) · สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) · เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) · เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยันต์) |
เสนาบดีกระทรวง | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช · เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) · เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต · พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช · พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร · พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) · พระยาประเสริฐสงคราม |
รัฐมนตรีว่าการ | พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) · พระยาประเสริฐสงคราม · แปลก พิบูลสงคราม · มังกร พรหมโยธี · หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) · สินธุ์ กมลนาวิน · ชิต มั่นศิลป สินาดโยธารักษ์ · จิร วิชิตสงคราม · หลวงชาตินักรบ (ศุข ชาตินักรบ) · สฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ถนอม กิตติขจร · ทวี จุลละทรัพย์ · ครวญ สุทธานินทร์ · ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา · ประมาณ อดิเรกสาร · กฤษณ์ สีวะรา · เสนีย์ ปราโมช · สงัด ชลออยู่ · เล็ก แนวมาลี · เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ · เปรม ติณสูลานนท์ · พะเนียง กานตรัตน์ · ชาติชาย ชุณหะวัณ · ชวลิต ยงใจยุทธ · ประพัฒน์ กฤษณะจันทร์ · สุจินดา คราประยูร · บรรจบ บุนนาค · วิจิตร สุขมาก · ชวน หลีกภัย · ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา · เชษฐา ฐานะจาโร · สัมพันธ์ บุญญานันทน์ · บุญรอด สมทัศน์ |
เจ้ากรมทหารบก | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) |
เจ้ากรมยุทธนาธิการ | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช · เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์ อรุณ ฉัตรกุล) |
เสนาบดี กระทรวงกลาโหม | เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต · พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช · พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร |
ผู้บัญชาการทหารบก | พระยาพหลพลพยุหเสนา · แปลก พิบูลสงคราม · พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต · อดุล อดุลเดชจรัส · ผิน ชุณหะวัณ · สฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ถนอม กิตติขจร · ประภาส จารุเสถียร · กฤษณ์ สีวะรา · บุญชัย บำรุงพงศ์ · เสริม ณ นคร · เปรม ติณสูลานนท์ · ประยุทธ จารุมณี · อาทิตย์ กำลังเอก · ชวลิต ยงใจยุทธ · สุจินดา คราประยูร · อิสระพงศ์ หนุนภักดี · วิมล วงศ์วานิช · ประมณฑ์ ผลาสินธุ์ · เชษฐา ฐานะจาโร · สุรยุทธ์ จุลานนท์ · สมทัต อัตตะนันทน์ · ชัยสิทธิ์ ชินวัตร · ประวิตร วงษ์สุวรรณ · สนธิ บุญยรัตกลิน |
เสนาบดีกระทรวง | เจ้าพระยาภาณุวงศ์ มหาโกษาธิบดี · สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ |
รัฐมนตรีว่าการ | พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย · พระศรีวิสารวาจา (ศรีวิสาร ฮุนตระกูล) · พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค) · พระยาพหลพลพยุหเสนา · พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) · ปรีดี พนมยงค์ · เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร์ ณ สงขลา) · แปลก พิบูลสงคราม · ดิเรก ชัยนาม · หลวงวิจิตรวาทการ · เสนีย์ ปราโมช · ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ · หลวงอรรถกิติกำจร (อรรถกิจ พนมยงค์) · ปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล · พจน์ สารสิน · บุญเกิด สุตันตานนท์ · พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · ถนัด คอมันตร์ · จรูญพันธุ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา · ถนอม กิตติขจร · ชาติชาย ชุณหะวัณ · พิชัย รัตตกุล · อุปดิศร์ ปาจรียางกูร · สิทธิ เศวตศิลา · สุบิน ปิ่นขยัน · อาทิตย์ อุไรรัตน์ · อาสา สารสิน · ปองพล อดิเรกสาร · ประสงค์ สุ่นศิริ · ทักษิณ ชินวัตร · กระแส ชนะวงศ์ · เกษมสโมสร เกษมศรี · อำนวย วีรวรรณ · ประจวบ ไชยสาส์น · สุรินทร์ พิศสุวรรณ · สุรเกียรติ์ เสถียรไทย · กันตธีร์ ศุภมงคล · นิตย์ พิบูลสงคราม |
เสนาบดี (กระทรวงธรรมการ) |
เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) · เจ้าพระยาวิชิตวงษ์วุฒิไกร · เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี · เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี · พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร |
รัฐมนตรีว่าการ (กระทรวงธรรมการ) |
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี · พระยาพหลพลพยุหเสนา · พระสารสาสน์ประพันธ์ · สินธุ์ กมลนาวิน |
รัฐมนตรีว่าการ (กระทรวงศึกษาธิการ) |
แปลก พิบูลสงคราม · ประยูร ภมรมนตรี · ทวี บุณยเกตุ · พระตีรณสารวิศวกรรม · เดือน บุนนาค · พระยาศราภัยพิพัฒ · เสนีย์ ปราโมช · มังกร พรหมโยธี · สวัสดิ์ ส. สวัสดิเกียรติ · เลียง ไชยกาล · มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ · ปิ่น มาลากุล · สุกิจ นิมมานเหมินท์ · อภัย จันทวิมล · เกรียง กีรติกร · ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ · นิพนธ์ ศศิธร · ประชุม รัตนเพียร · ศิริ สิริโยธิน · ภิญโญ สาธร · บุญสม มาร์ติน · สิปปนนท์ เกตุทัต · เกษม ศิริสัมพันธ์ · ชวน หลีกภัย · มารุต บุนนาค · มานะ รัตนโกเศศ · เทียนชัย สิริสัมพันธ์ · สมบุญ ระหงษ์ · สัมพันธ์ ทองสมัคร · สุขวิช รังสิตพล · ชิงชัย มงคลธรรม · ชุมพล ศิลปอาชา · ปัญจะ เกสรทอง · สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล · เกษม วัฒนชัย · ทักษิณ ชินวัตร · สุวิทย์ คุณกิตติ · ปองพล อดิเรกสาร · อดิศัย โพธารามิก · จาตุรนต์ ฉายแสง · วิจิตร ศรีสอ้าน |
พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นบทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |
หมวดหมู่: นายกรัฐมนตรีไทย | รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม | ผู้บัญชาการทหารบก | รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ | รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ | บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2430 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2490 | บรรดาศักดิ์ชั้นพระยา | ทหารบกชาวไทย | ชาวกรุงเทพมหานคร | นักการเมืองไทย | บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์