เทอร์เบียม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
||||||||||||||||||||||||||||
ทั่วไป | ||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อ, สัญลักษณ์, หมายเลข | เทอร์เบียม, Tb, 65 | |||||||||||||||||||||||||||
อนุกรมเคมี | แลนทาไนด์ | |||||||||||||||||||||||||||
หมู่, คาบ, บล็อก | ?, 6, f | |||||||||||||||||||||||||||
ลักษณะ | สีขาวเงิน |
|||||||||||||||||||||||||||
มวลอะตอม | 158.92534(2) กรัม/โมล | |||||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Xe] 4f9 6s2 | |||||||||||||||||||||||||||
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน | 2, 8, 18, 27, 8, 2 | |||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติทางกายภาพ | ||||||||||||||||||||||||||||
เฟส | ของแข็ง | |||||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 8.23 ก./ซม.³ | |||||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. | 7.65 ก./ซม.³ | |||||||||||||||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 1629 K (1356 °C) |
|||||||||||||||||||||||||||
จุดเดือด | 3503 K(3230 °C) | |||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการหลอมเหลว | 10.15 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการกลายเป็นไอ | 293 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนจำเพาะ | (25 °C) 28.91 J/(mol·K) | |||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติของอะตอม | ||||||||||||||||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | hexagonal | |||||||||||||||||||||||||||
สถานะออกซิเดชัน | 4 (ออกไซด์เป็นเบสอ่อน) |
|||||||||||||||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาติวิตี | ? 1.2 (Pauling scale) | |||||||||||||||||||||||||||
พลังงานไอออไนเซชัน (เพิ่มเติม) |
ระดับที่ 1: 565.8 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 2: 1110 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 3: 2114 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม | 175 pm | |||||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม (คำนวณ) | 225 pm | |||||||||||||||||||||||||||
อื่น ๆ | ||||||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก | ferromagnetic in dry ice [1] |
|||||||||||||||||||||||||||
ความต้านทานไฟฟ้า | (r.t.) (α, poly) 1.150 µΩ·m |
|||||||||||||||||||||||||||
การนำความร้อน | (300 K) 11.1 W/(m·K) | |||||||||||||||||||||||||||
การขยายตัวจากความร้อน | (r.t.) (α, poly) 10.3 µm/(m·K) |
|||||||||||||||||||||||||||
ความเร็วเสียง (ท่อนบาง) | (20 °C) 2620 m/s | |||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของยังก์ | (α form) 55.7 GPa | |||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของแรงเฉือน | (α form) 22.1 GPa | |||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของแรงบีบอัด | (α form) 38.7 GPa | |||||||||||||||||||||||||||
อัตราส่วนปัวซอง | (α form) 0.261 | |||||||||||||||||||||||||||
ความแข็งวิกเกอร์ส | 863 MPa | |||||||||||||||||||||||||||
ความแข็งบริเนล | 677 MPa | |||||||||||||||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-27-9 | |||||||||||||||||||||||||||
ไอโซโทปที่น่าสนใจ | ||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งอ้างอิง |
เทอร์เบียม(อังกฤษ:Terbium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 65 และสัญลักษณ์คือ Tb เทอร์เบียมเป็นธาตุโลหะเอิร์ธหายากมีลักษณะสีเทาเงินวาวอ่อนนุ่มยืดเป็นเส้นตีเป็นแผ่นได้ และสามารถตัดได้ด้วยมีดมีความเสถียรในอากาศ มีสองรูปผลึก(allotropes)ที่ต่างกันโดยจะเปลี่ยนรูปที่อุณหภูมิ 1289 °C
[แก้] สารประกอบ
สารประกอบเทอร์เบียมมีดังนี้:
- ฟลูออไรด์ (Fluorides)
- TbF3
- TbF4
- คลอไรด์ (Chlorides)
- TbCl3
- โบรไมด์ (Bromides)
- TbBr3
- ไอโอไดด์ (Iodides)
- TbI3
- ออกไซด์ (Oxides)
- Tb2O3
- Tb4O7
- ซัลไฟด์ (Sulfides)
- Tb2S3
- ไนไตรด์ (Nitrides)
- TbN
เทอร์เบียม เป็นบทความเกี่ยวกับ เคมี ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ เทอร์เบียม ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |