ภาษามลายูปัตตานี
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษามลายูปัตตานี (ยาวี) | ||
---|---|---|
พูดใน: | ไทย มาเลเซีย | |
ดินแดน: | ปัตตานี | |
จำนวนคนพูดทั้งหมด: | 3,100,000 (ค.ศ. 1998) | |
ตระกูลของภาษา: | ออสโตรนีเซียน มาลาโย-โพลีนีเซียน มาลายิก มาลายัน มาเลย์ท้องถิ่น ภาษามลายูปัตตานี |
|
ระบบการเขียน: | อักษรยาวี | |
รหัสภาษา | ||
ISO 639-1: | ms | |
ISO 639-2: | may (B) | msa (T) |
ISO/DIS 639-3: | mfa | |
หมายเหตุ: หน้านี้อาจจะมีตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ IPA ในลักษณะยูนิโคด |
ภาษามลายูปัตตานี หรือ มลายูปาตานี (เรียกในภาษาอังกฤษ ว่า 'Pattani Malay' หรือ 'Patani Malay') เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน ที่พูดโดยชาวไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และในบางอำเภอของสงขลา (ไม่รวมสตูล) ในประเทศไทยมีประชากรที่พูดภาษานี้มากกว่า 1 ล้านคน
ภาษามลายูปัตตานี มีโครงสร้างมาจากภาษามลายูกลาง
![]() |
ภาษามลายูปัตตานี เป็นบทความเกี่ยวกับ ภาษา หรือ ตัวอักษร ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ภาษามลายูปัตตานี ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |