โครเมียม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ทั่วไป | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อ, สัญลักษณ์, หมายเลข | โครเมียม, Cr, 24 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อนุกรมเคมี | โลหะทรานซิชั่น | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หมู่, คาบ, บล็อก | 6, 4, d | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ลักษณะ | สีเงินมันวาว![]() |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มวลอะตอม | 51.9961(6) กรัม/โมล | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Ar] 3d5 4s1 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน | 2, 8, 13, 1 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติทางกายภาพ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เฟส | ของแข็ง | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 7.15 ก./ซม.³ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. | 6.3 ก./ซม.³ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 2180 K (1907 °C) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
จุดเดือด | 2944 K(2671 °C) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการหลอมเหลว | 21.0 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการกลายเป็นไอ | 339.5 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนจำเพาะ | (25 °C) 23.35 J/(mol·K) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติของอะตอม | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | cubic body centered | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สถานะออกซิเดชัน | 6, 3, 2 (ออกไซด์เป็นกรดแก่) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาติวิตี | 1.66 (Pauling scale) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พลังงานไอออไนเซชัน (เพิ่มเติม) |
ระดับที่ 1: 652.9 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 2: 1590.6 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 3: 2987 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม | 140 pm | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม (คำนวณ) | 166 pm | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีโควาเลนต์ | 127 pm | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อื่น ๆ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก | AFM (rather: SDW) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความต้านทานไฟฟ้า | (20 °C) 125 nΩ·m | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การนำความร้อน | (300 K) 93.9 W/(m·K) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การขยายตัวจากความร้อน | (25 °C) 4.9 µm/(m·K) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความเร็วเสียง (ท่อนบาง) | (20 °C) 5940 m/s | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของยังก์ | 279 GPa | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของแรงเฉือน | 115 GPa | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของแรงบีบอัด | 160 GPa | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อัตราส่วนปัวซอง | 0.21 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความแข็งโมห์ส | 8.5 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความแข็งวิกเกอร์ส | 1060 MPa | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความแข็งบริเนล | 1120 MPa | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-47-3 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ไอโซโทปที่น่าสนใจ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งอ้างอิง |
โครเมียม (อังกฤษ:Chromium)เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์เป็น Crมีหมายเลขอะตอมเป็น 24
[แก้] คุณสมบัติเฉพาะตัว
โครเมียมเป็นโลหะมันวาวสีเทา ที่สามารถขัดเป็นในได้ดี และมีจุดหลอมเหลวสูง ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และสามารถตีขึ้นรูปได้
สถานะออกซิเดชันที่ปรากฏมากที่สุดตือ +2 +3 และ +6 โดยที่ +3 เสถียรที่สุด +1 +4 และ +5 ปรากฏน้อย สารประกอบโครเมียมที่มีสถานะ +6 เป็นตัวออกซิไดส์อานุภาพสูง
โครเมียมทำปฏิกิริยากับออกซิเจนทำให้เกิดชั้นออกไซด์บาง ๆ ที่ป้องกันการทำปฏิกิริยาเพิ่มเติมกับโลหะที่อยู่ภายใต้
[แก้] การนำไปใช้
- ในงานโลหกรรม ใช้ในการป้องกันการกัดกร่อน และทำให้เกิดความมันวาว
- ผสมเป็นโลหะผสม เช่น มีดสแตนเลส
- การเคลือบโลหะ
- ใช้ในอะลูมิเนียมอะโนไดส์ ทำให้พื้นผิวของอะลูมิเนียมกลายเป็นทับทิม
- ในสี
- โครเมียม (III) ออกไซด์ เป็นผงขัดโลหะ
- เกลือโครเมียมทำให้แก้วมีสีเขียวมรกต
- โครเมียมทำให้ทับทิมมีสีแดง จึงใช้ผลิตทับทิมเทียม
- ทำให้เกิดสีเหลืองสำหรับทาสี
- เป็นคะตาลิสต์
- โครไมต์ใช้ทำแม่พิมพ์สำหรับการเผาอิฐ
- เกลือโครเมียมใช้ในการฟอกหนัง
- โปแตสเซียม ไดโครเมต เป็นสารทำปฏิกิริยา ใช้ในการทำความสะอาดเครื่องแก้วในห้องปฏิบัติการ และเป็นสารทำการไทเครท นอกจากนี้ ยังใช้ในการทำให้สีย้อมติดผ้า
- โครเมียม (IV) ออกไซด์ (CrO2) ใช้ผลิตเทปแม่เหล็ก มีประสิทธิภาพสูงกว่าเทปที่ผลิตจากเหล็กออกไซด์
- ใช้ป้องกันการกัดกร่อนในการเจาะบ่อ
- ใช้เป็นอาหารเสริม หรือยาลดน้ำหนัก ส่วนใหญ่เป็น โครเมียม (III) คลอไรด์ และโครเมียม(III) "พโกลิเนต
- โครเมียม เฮกซะคาร์บอนิล (Cr(CO)6) ใช้ผสมลงในเบนซิน
- โครเมียม โบไรด์ (CrB) ใช้เป็นตัวนำไฟฟ้าอุณหภูมิสูง
- โครเมียม (III) ซัลเฟต (Cr2(SO4)3) ใช้เป็นผงสีเขียวในสี เซอรามิก วาร์นิช และหมึก รวมทั้งการเคลือบโลหะ
![]() |
โครเมียม เป็นบทความเกี่ยวกับ เคมี ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ โครเมียม ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |