วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
- ดูวิธีการแก้ไขพื้นฐานฉบับย่อ ได้ที่ วิกิพีเดีย:วิธีการแก้ไขหน้าพื้นฐาน
วิกิพีเดีย คือ เว็บไซต์ที่ใครก็สามารถเข้ามาแก้ไข และสามารถแสดงส่วนที่แก้ไขนั้นได้ทันที ทุกคนสามารถเริ่มต้นได้ไม่ยาก สำหรับการ การแก้ไขในแต่ละหน้า หลังจากกดปุ่ม "แก้ไข" จากตรงแถบส่วนบน หลังจากนั้นจะมีหน้าที่มีกรอบข้อความซึ่งสามารถแก้ไขข้อความในหน้านั้นได้ จากนั้นก็พิมพ์ข้อความที่ต้องการแก้ไขลงไป เมื่อพิมพ์เสร็จ กดปุ่ม "บันทึก" ด้านล่าง การแก้ไขหน้านั้นก็จะเปลี่ยนแปลงตามที่ได้แก้ไขทันที หรืออาจจะกดปุ่ม "ดูตัวอย่าง" เพื่อตรวจสอบว่าการแก้ไขที่ทำไปถูกตามที่ต้องการ และเมื่อพร้อมจะบันทึก สามารถกดปุ่ม "บันทึก" ได้ทันที และอย่าลืมเขียน "คำอธิบายอย่างย่อ" เพื่อบอกคนอื่นๆ ว่าเราได้แก้ไขอะไรไปบ้างหรือบอกตัวเองเผื่อจะกลับมาแก้ไขภายหลัง และอาจจะเลือก "การแก้ไขเล็กน้อย" เพื่อบอกคนอื่นไว้เช่นกัน
สำหรับแถบ "อภิปราย" ด้านบน จะเปิดหน้าใหม่ขึ้นมาสำหรับ พูดคุยเกี่ยวกับเรื่องของบทความนั้นๆ พูดคุยคำถามทิ้งไว้ว่าต้องการแก้ไขหน้านั้นกันอย่างไร ในหน้าอภิปรายจะมีปุ่ม "+" ขึ้นมา เพื่อสำหรับพูดคุยในหัวข้อใหม่
สารบัญ |
[แก้] กลเม็ดในการเขียนวิกิพีเดีย
- ควรเขียนบทความด้วยมุมมองที่เป็นกลาง และระบุเอกสารอ้างอิง เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือของบทความ ง่ายต่อการตรวจสอบ และเพื่อประโยชน์ในการเพิ่มเติมข้อมูลในภายหลัง
- การใช้ภาษาในวิกิพีเดีย ไม่จำเป็นจะต้องเขียนให้ดูสละสลวยเหมือนแต่งคำกลอนส่งชิงรางวัล หรือแต่งให้หรูหราเหมือนทำรายงานวิทยานิพนธ์ การเขียนวิกิพีเดียสามารถใช้ภาษาทั่วไป เหมือนภาษาที่เราพูดตามปกติ ที่สะกดคำได้ถูกต้อง ถ้าไม่แน่ใจสามารถตรวจสอบได้จากพจนานุกรมใกล้มือ หรือจากเว็บ พจนานุกรมจากราชบัณฑิตฯ สำหรับคำจากภาษาอื่น มักจะมีปัญหาสะกดคำหลายแบบ สามารถตรวจสอบได้จาก ศัพท์บัญญัติจากราชบัณฑิตฯ การถอดเสียงภาษาอังกฤษ และ การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน
- ถ้าได้มีงานเขียนไว้แล้ว และต้องการนำมาลงในวิกิพีเดีย สามารถคัดลอกมาลงในวิกิพีเดีย หลังจากนั้นลองกดปุ่ม "ดูตัวอย่าง" ก่อนที่จะทำการ "บันทึก" เพื่อแน่ใจว่าข้อความจะแสดงผลออกมาตามที่ต้องการ ในวิกิพีเดียมีบางคำสั่งที่จะแตกต่างจากพวก โปรแกรมอื่นๆ อยู่นิดหน่อย
- ในระหว่างทำการแก้ไขบทความ ถ้าต้องการเปิดดูหน้าปัจจุบัน โดยไม่ยกเลิกการแก้ไขที่ทำอยู่ ให้เปิดลิงก์ "ยกเลิก" ในหน้าอื่น
หลังจากหน้าใดสร้างเสร็จแล้ว สามารถใช้คำสั่งต่อไปนี้ได้:
- เพิ่มหมวดหมู่ของบทความ เพื่อโยงบทความเข้าหาบทความใกล้เคียงกัน
- ใส่ลิงก์ข้ามภาษา เพื่อเชื่อมโยงบทความเดียวกันในภาษาอื่น
- ตรวจสอบดูหน้าที่กล่าวถึงหน้านั้น โดยกด "บทความอื่นที่โยงมา" จากเมนูด้านซ้ายมือ
[แก้] คำสั่งในวิกิ
คำสั่งในวิกิพีเดีย เป็นคำสั่งเฉพาะในการจัดรูปแบบและย่อหน้าในวิกิพีเดีย
ในตารางด้านล่าง คอลัมน์ซ้ายจะแสดงผลลัพธ์ของคำสั่ง และคอลัมน์ขวาจะแสดงว่าคำสั่งอะไรที่จะต้องพิมพ์เข้าไปเพื่อให้ได้ผลลัพธ์นั้น การแก้ไขสามารถทดลองได้ โดยภายหลังการทดลองให้กด "แสดงตัวอย่าง" ด้านล่างเพื่อดูผลที่เกิดขึ้น หรือถ้าอยากทดลองหลายๆ คำสั่งพร้อมทั้งบันทึกไว้ ให้ลองทดลองในหน้า วิกิพีเดีย:กระบะทราย ซึ่งเป็นหน้าสำหรับทดลองการเขียน
บทความในบางหมวดหมู่ เช่น ภาษา ธาตุเคมี หรือ ประเทศ ที่มีตารางเฉพาะให้ใช้ได้ทันที ให้ดูเพิ่มที่ การจัดหน้าโดยใช้แม่แบบเข้ามาช่วย
[แก้] การจัดย่อหน้า และเส้นแบ่ง
ผลที่เกิด | คำสั่งที่พิมพ์ |
---|---|
สร้างหัวข้อย่อยในบทความ
หัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย หัวข้อย่อยรองลงไป
|
== หัวข้อใหญ่ == === หัวข้อย่อย === ==== หัวข้อย่อยรองลงไป ==== |
การขึ้นบรรทัดใหม่ ไม่มีผลต่อการจัดย่อหน้าในหน้าแสดงผล แต่สามารถใช้สำหรับการแบ่งประโยคออกจากกันได้ ผู้เขียนบางคนเห็นว่า การขึ้นบรรทัดใหม่นี้จะช่วยในการตรวจแก้ และช่วยการทำงานของ ต่าง (ใช้เพื่อเปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างรุ่นของหน้า) แต่การขึ้นบรรทัดใหม่ 2 ครั้ง มีผลเท่ากับการขึ้นย่อหน้าใหม่ |
การขึ้นบรรทัดใหม่ การขึ้นบรรทัดใหม่ 1 ครั้ง ไม่มีผลกับการจัดย่อหน้าในหน้าแสดงผล สามารถใช้ในการตัดประโยคจากกันได้ ผู้เขียนบางคนเห็นว่า การขึ้นบรรทัดนี้จะช่วยในการตรวจแก้ และช่วยการทำงานของ ''ต่าง'' (ใช้เพื่อเปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างรุ่นของหน้า) แต่การขึ้นบรรทัดใหม่ 2 ครั้ง มีผลเท่ากับการขึ้นย่อหน้าใหม่ |
คุณสามารถขึ้นบรรทัดใหม่ได้ |
การสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ คุณสามารถขึ้นบรรทัดใหม่ได้<br /> โดยที่ไม่ขึ้นย่อหน้าใหม่ |
|
การใส่ bullet เพื่อแยกรายการ *การสร้างรายการ ** ให้ใส่เครื่องหมาย * ด้านหน้ารายการ ** ใช้ * มากดวงขึ้น *** เพื่อสร้างรายการในระดับ *** ที่ย่อยมากขึ้น |
|
การใส่เลขลำดับข้อ # รายการชนิดตัวเลขก็ใช้ดีเช่นกัน ## ยิ่งจัดโครงสร้างดีๆ ## ยิ่งง่ายต่อการติดตาม |
|
การใช้ bullet ผสมเลขลำดับข้อ * สามารถใช้ผสมกันได้ *# และแบ่งรายการย่อยไปเรื่อยๆ *#* อย่างนี้ |
|
การแสดงหัวข้อหลักและหัวข้อย่อย ; รายการนิยามศัพท์ : รายการของคำศัพท์และความหมาย ; คำศัพท์ : ความหมายของคำศัพท์ |
ขึ้นบรรทัดใหม่ เพื่อเริ่มย่อหน้าใหม่
|
การย่อหน้า : ขึ้นต้นด้วยมหัพภาคคู่ เพื่อร่นกั้นหน้าซ้ายของย่อหน้า ขึ้นบรรทัดใหม่ เพื่อเริ่มย่อหน้าใหม่ |
บรรทัดขึ้นต้นด้วยช่องว่าง มันจะแสดงในรูปแบบ เหมือนกับที่พิมพ์เข้าไป; โดยใช้ฟอนต์ที่มีความกว้างคงที่; และจะไม่ตัดบรรทัดด้วย;
|
บรรทัดขึ้นต้นด้วยช่องว่าง มันจะแสดงในรูปแบบ เหมือนกับที่พิมพ์เข้าไป; โดยใช้ฟอนต์ที่มีความกว้างคงที่; และจะไม่ตัดบรรทัดด้วย; |
|
การวางข้อความไว้กึ่งกลาง <center>วางข้อความไว้กึ่งกลาง</center> |
เส้นแบ่งในแนวนอน: นี่อยู่บน และนี่อยู่ล่าง
|
การใช้เส้นแบ่ง เส้นแบ่งในแนวนอน: นี่อยู่บน ---- และนี่อยู่ล่าง |
[แก้] ลิงก์
ผลลัพธ์ที่ได้ | สิ่งที่พิมพ์เข้าไป |
---|---|
สมชายแนะนำหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน
|
การลิงก์หัวข้อ สมชายแนะนำ[[หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน]] |
ไทยแบ่งเขตการบริหารออกเป็น 76 จังหวัด
|
[[ประเทศไทย|ไทย]]แบ่งเขตการบริหารออกเป็น 76 จังหวัด |
ลิงก์ไปยังตอนใดตอนหนึ่งในหน้า เช่น en:List_of_cities_by_country#Morocco (การลิงก์ไปยังตอนที่ไม่มีอยู่จริง ไม่ทำให้อะไรเสียหาย เพียงแค่จะเสมือนลิงก์ไปยังหน้านั้นตามปกติ คือจะแสดงตั้งแต่บนสุดลงมา) |
การลิงก์ไปตอนใดตอนหนึ่ง [[List_of_cities_by_country#Morocco]] |
การต่อท้ายคำ ทำให้เป็นลิงก์ทั้งคำ และส่วนขยายได้: en:testing, en:genes |
การต่อท้ายคำทำ ให้เป็นลิงก์ทั้งคำ และส่วนขยายได้: [[:en:test]]ing, [[:en:gene]]s |
ซ่อนสิ่งที่อยู่ในวงเล็บอัตโนมัติ: อาณาจักร ซ่อน namespace อัตโนมัติ: สภากาแฟ
|
การซ่อนข้อความที่อยู่ในวงเล็บ ซ่อนสิ่งที่อยู่ในวงเล็บอัตโนมัติ: [[อาณาจักร (ชีววิทยา)|]] ซ่อน namespace อัตโนมัติ: [[วิกิพีเดีย:สภากาแฟ|]] |
เมื่อเพิ่มความคิดเห็นลงไปในหน้าพูดคุย ท่านควรลงชื่อเสมอ ซึ่งท่านทำได้ง่ายๆ โดยใส่เครื่องหมาย ~ 3 ตัวติดกัน ซึ่งจะถูกแทนที่ด้วยชื่อของท่าน: หรือพิมพ์ ~ 4 ตัว เพื่อใส่ชื่อและวันที่/เวลา:
|
การลงชื่อ และเวลา เมื่อเพิ่มความคิดเห็นลงไปในหน้าพูดคุย ท่านควรลงชื่อเสมอ ซึ่งท่านทำได้ง่ายๆ โดยใส่เครื่องหมาย ~ 3 ตัวติดกัน ซึ่งจะถูกแทนที่ด้วยชื่อของท่าน: : ~~~ หรือพิมพ์ ~ 4 ตัว เพื่อใส่ชื่อและวันที่/เวลา: : ~~~~ |
พยากรณ์อากาศของจังหวัดลำปาง คือหน้าที่ยังไม่มี
|
การสร้างลิงก์หัวข้อใหม่ [[พยากรณ์อากาศของจังหวัดลำปาง]] คือหน้าที่ยังไม่มี |
|
#REDIRECT [[ประเทศไทย]] |
|
|
หน้า หัวข้ออื่นที่โยงมา และ ปรับปรุงล่าสุด สามารถลิงก์ได้โดย: พิเศษ:Whatlinkshere/วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า และ พิเศษ:Recentchangeslinked/วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า |
หน้า '''หัวข้ออื่นที่โยงมา''' และ '''ปรับปรุงล่าสุด''' สามารถลิงก์ได้โดย: [[พิเศษ:Whatlinkshere/วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า]] และ [[พิเศษ:Recentchangeslinked/วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า]] |
แหล่งข้อมูลอื่น: Nupedia |
แหล่งข้อมูลอื่น: [http://www.nupedia.com Nupedia] |
หรือแค่ใส่ URL: http://www.nupedia.com
|
หรือแค่ใส่ URL: http://www.nupedia.com. |
|
ISBN 012345678X ISBN 0-12-345678-X |
ใช้ลิงก์ไปยังวันที่ เพื่อที่ทุกๆ คนจะได้ตั้งค่าแสดงผลตามที่ต้องการ ใช้ พิเศษ:Preferences เพื่อเปลี่ยนค่าตั้งของการกำหนดการแสดงผลงวันที่ |
[[July 20]], [[1969]] , [[20 July]] [[1969]] and [[1969]]-[[07-20]]ทั้งหมดจะแสดงเป็น 20 July 1969 ถ้าท่านกำหนดให้แสดงผลวันที่เป็น 1 January 2001 |
|
[[media:Sg_mrob.ogg|เสียง]] |
[แก้] รูปภาพ
- ดูเพิ่มเติมที่หัวข้อ วิกิพีเดีย:วิธีการใส่ภาพ
ภาพหรือสื่อต่างๆที่นำมาใช้ได้ในบทความของวิกิพีเดีย ต้องผ่านการอัปโหลดที่หน้าอัปโหลดของวิกิพีเดีย หรือหน้าอัปโหลดของคอมมอนส์ โดยภาพที่ถูกอัปโหลดแล้วสามารถดูได้ที่รายการภาพหรือ ห้องภาพใหม่ของวิกิพีเดียภาษาไทย หรือหน้าหลักของคอมมอนส์
วิธีการใส่ภาพ ทำได้โดย ใช้คำสั่ง [[ภาพ:__ตามด้วยชื่อภาพ__]] ตัวอย่างเช่น [[ภาพ:Wiki-th.png]] สำหรับการใส่ค่ารายละเอียดของภาพเช่นขนาด ตำแหน่ง หรือคำอธิบายอื่นๆ ให้ใส่หลังเครื่องหมายขีดตั้งเช่น [[ภาพ:Wiki-th.png|right|90px]] โดยจะแสดงผลออกมา อย่างภาพภาพโลโก้วิกิพีเดียทางขวามือโดยมีความหมายว่า ให้วางชิดขวา ที่ขนาด 90 พิกเซล ดูเพิ่มเติมที่ วิกิพีเดีย:วิธีการใส่ภาพ
[แก้] รูปแบบตัวอักษร
ผลลัพธ์ที่ได้ | สิ่งที่พิมพ์เข้าไป |
---|---|
Emphasize, strongly, very strongly.
|
การแสดงการเน้นตัวอักษร ''Emphasize'', '''strongly''', '''''very strongly'''''. |
ท่านสามารถเขียน ตัวเอียง และ ตัวหนา หากต้องการกำหนดตามลักษณะของฟอนต์ แทนที่จะเป็น emphasis เช่นใช้ในการเขียนสูตรคณิตศาสตร์:
|
การแสดงลักษณะของตัวอักษร ท่านสามารถเขียน <i>ตัวเอียง</i> และ <b>ตัวหนา</b> หากต้องการกำหนดตามลักษณะของฟอนต์ แทนที่จะเป็น emphasis เช่นใช้ในการเขียนสูตรคณิตศาสตร์: :<b>F</b> = <i>m</i><b>a</b> |
ฟอนต์ ตัวพิมพ์ดีด สำหรับศัพท์เทคนิค หรืออื่นๆ |
การใช้ฟอนต์สำหรับศัพท์เทคนิค ฟอนต์ <tt>ตัวพิมพ์ดีด</tt> สำหรับศัพท์เทคนิค หรืออื่นๆ |
ท่านสามารถใช้ ตัวอักษรขนาดเล็ก
สำหรับเขียนคำบรรยายใต้ภาพ |
การใช้ฟอนต์สำหรับบรรยายใต้ภาพ ท่านสามารถใช้ <small>ตัวอักษรขนาดเล็ก</small> สำหรับเขียนคำบรรยายใต้ภาพ |
ท่านสามารถ แล้ว ขีดเส้นใต้เนื้อหาใหม่ |
การขีดฆ่าข้อความเดิมใช้ข้อความใหม่ ท่านสามารถ <strike>ขีดฆ่าเนื้อหาที่ลบออก</strike> แล้ว <u>ขีดเส้นใต้เนื้อหาใหม่</u> |
Diacritical marks: |
À Á Â Ã Ä Å Æ Ç È É Ê Ë Ì Í Î Ï Ñ Ò Ó Ô Õ Ö Ø Ù Ú Û Ü ß à á â ã ä å æ ç è é ê ë ì í î ï ñ ò ó ô œ õ ö ø ù ú û ü ÿ |
เครื่องหมายวรรคตอน: |
¿ ¡ § ¶ † ‡ • - — ‹ › « » ‘ ’ “ ” |
สัญลักษณ์ทางการเงิน: |
™ © ® ¢ € ¥ £ ¤ |
ตัวห้อย: x2 ตัวยก: x2 or x²
ε0 = 8.85 × 10−12 C² / J m. |
ตัวห้อย: x<sub>2</sub> ตัวยก: x<sup>2</sup> or x² ε<sub>0</sub> = 8.85 × 10<sup>−12</sup> C² / J m. 1 [[hectare]] = [[1 E4 m²]] |
ตัวอักษรกรีก: α β γ δ ε ζ |
α β γ δ ε ζ η θ ι κ λ μ ν ξ ο π ρ σ ς τ υ φ χ ψ ω Γ Δ Θ Λ Ξ Π Σ Φ Ψ Ω |
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์: |
∫ ∑ ∏ √ − ± ∞ ≈ ∝ ≡ ≠ ≤ ≥ → × · ÷ ∂ ' ″ ∇ ‰ ° ∴ ℵ ø ∈ ∉ ∩ ∪ ⊂ ⊃ ⊆ ⊇ ¬ ∧ ∨ ∃ ∀ ⇒ ⇔ → ↔ |
การเว้นระยะห่างในสูตรคณิตศาสตร์:
|
เป็นที่ประจักษ์ว่า ''x''² ≥ 0 เป็นความจริง |
สูตรคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อน:
|
<math>\sum_{n=0}^\infty \frac{x^n}{n!}</math> |
การเว้นมิให้แปลงตัวตกแต่ง:
|
<nowiki>Link → (<i>to</i>) the [[FAQ]]</nowiki> |
ใส่บันทึกหมายเหตุในซอร์สของหน้า:
|
<!-- ใส่บันทึกหมายเหตุที่นี่ --> |
[แก้] การสร้างตาราง
ดูที่หัวข้อหลัก การสร้างตาราง
[แก้] ตัวแปร
รหัส | ผลลัพธ์ที่ได้ |
---|---|
{{CURRENTMONTH}} | 04 |
{{CURRENTMONTHNAME}} | เมษายน |
{{CURRENTMONTHNAMEGEN}} | April |
{{CURRENTDAY}} | 18 |
{{CURRENTDAYNAME}} | วันพุธ |
{{CURRENTWEEK}} | 16 |
{{CURRENTYEAR}} | 2007 |
{{CURRENTTIME}} | 01:53 |
{{NUMBEROFARTICLES}} | 21,487 |
{{PAGENAME}} | วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า |
{{NAMESPACE}} | |
{{REVISIONID}} | 493717 |
{{localurl:pagename}} | ../../../p/a/g/Pagename.html |
{{localurl:บทความ|action=edit}} | ../../../%E0%B8%9A/%E0%B8%97/%E0%B8%84/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1.html |
{{fullurl:pagename}} | http://th.wikipedia.org../../../p/a/g/Pagename.html |
{{fullurl:pagename|query_string}} | http://th.wikipedia.org../../../p/a/g/Pagename.html |
{{SERVER}} | http://th.wikipedia.org |
{{ns:1}} | พูดคุย |
{{ns:2}} | ผู้ใช้ |
{{ns:3}} | คุยกับผู้ใช้ |
{{ns:4}} | Wikipedia |
{{ns:5}} | คุยเรื่องWikipedia |
{{ns:6}} | ภาพ |
{{ns:7}} | คุยเรื่องภาพ |
{{ns:8}} | มีเดียวิกิ |
{{ns:9}} | คุยเรื่องมีเดียวิกิ |
{{ns:10}} | แม่แบบ |
{{ns:11}} | คุยเรื่องแม่แบบ |
{{ns:12}} | วิธีใช้ |
{{ns:13}} | คุยเรื่องวิธีใช้ |
{{ns:14}} | หมวดหมู่ |
{{ns:15}} | คุยเรื่องหมวดหมู่ |
{{SITENAME}} | Wikipedia |
[แก้] หน้าที่ถูกป้องกัน
ในบางกรณีลิงก์ที่เคยแสดงว่า "แก้ไขหน้านี้" กลับถูกแสดงแทนด้วยคำว่า "หน้าถูกล็อกไว้" (หรืออื่นๆ ที่เทียบเท่ากันในภาษาของโครงการนั้นๆ) ในกรณีนี้หน้านั้นจะแก้ไขมิได้
[แก้] การแยกส่วนกันตรวจแก้
การย้ายหรือคัดลอกส่วนของข้อความในหน้าเดียวกัน หรือจากหน้าอื่น และจะแก้ไขส่วนอื่นๆ ด้วย จะเป็นการดีกว่าถ้าแยกการแก้อย่างนี้เป็น 2 หน เพราะจะทำให้การตรวจความแตกต่างเกิดประโยชน์ที่สุด สำหรับการตรวจสอบการตรวจแก้อื่นๆ
[แก้] หัวข้อที่ยังไม่สมบูรณ์
สำหรับหัวข้อที่ยังไม่สมูบรณ์ หรือเป็นเพียงร่าง รอให้เข้ามาเพิ่มเติมเนื้อหาภายหลัง สามารถใส่คำว่า {{โครง}} ซึ่งจะมีผลให้ วิกิแสดงแม่แบบ "โครง" ซึ่งจะแจ้งให้ผู้อ่านทราบว่า ข้อมูลในหัวข้อนี้ยังไม่สมบูรณ์, และเป็นการเชิญชวนผู้ที่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ มาเพิ่มเติมเนื้อหาลงไป
[แก้] หัวข้อที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสม
หากคุณพบเห็นหน้าที่ไม่เหมาะสม และต้องการแจ้งลบ ให้ใส่คำว่า {{ลบ}} ที่หน้านั้น. หน้านั้นจะถูกเพิ่มเข้าไปในรายการหน้าที่ถูกแจ้งลบ โดยทันที
[แก้] สำหรับผู้ใช้เว็บเบราว์เซอร์ Safari
ถ้าท่านใช้เว็บเบราว์เซอร์ซาฟารี (Safari) บน Mac OS X ท่านจะพบว่า การที่เบราว์เซอร์กำหนดให้เวลาการโหลด หรืออัปโหลดหน้า ใช้เวลาได้ไม่เกิน 60 วินาทีนั้น สั้นเกินไป ที่ท่านจะส่งการแก้ไขของท่านได้ โดยเฉพาะเมื่อเซิร์ฟเวอร์กำลังรับการโหลดหนักๆ การคลิกที่ "บันทึก" อีกที จะเป็นการแก้ไขซ้ำ ซึ่งจะเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ถ้าเป็นการแก้ไขเฉพาะส่วน (section) ปัญหานี้ท่านสามารถแก้ได้โดยติดตั้ง SafariNoTimeout ซึ่งเป็นส่วนขยายฟรี ที่ช่วยเพิ่มเวลาจาก 60 วินาทีเป็น 10 นาทีได้