เลขฐานสอง
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ระบบเลขตามพัฒนาการ | |
---|---|
เลขฮินดู-อารบิก | |
อารบิกตะวันตก อารบิกตะวันออก เขมร มอญ |
อินเดีย พราหฺมี ไทย |
เลขเอเชียตะวันออก | |
จีน ญี่ปุ่น |
เกาหลี |
เลขตัวอักษร | |
แอ็บยัด อาร์เมเนีย ซีริลลิก จิอิส |
ฮีบรู ไอโอเนียน/กรีก สันสกฤต |
ระบบอื่นๆ | |
แอตติก อีทรัสคัน โรมัน |
บาบิโลเนีย อียิปต์ มายา |
รายชื่อระบบเลข | |
ระบบเลขตามฐาน | |
เลขฐานสิบ (10) | |
2, 4, 8, 16, 32, 64 | |
3, 9, 12, 24, 30, 36, 60, อื่นๆ | |
เลขฐานสอง (อังกฤษ: binary numeral system) หมายถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น
ในปัจจุบันเลขฐานสองเป็นพื้นฐานในการทำงานของคอมพิวเตอร์ โดยนำเอาหลักการของเลขฐานสอง (สถานะไม่มีไฟฟ้า และ สถานะมีไฟฟ้า) มาใช้ในการสร้างไมโครโปรเซสเซอร์ที่มีหน่วยประมวลผลแบบ 32 หรือ 64 บิต หรือมากกว่านั้น ซึ่งสามารถเรียกได้ว่าเป็นการประมวลผลแบบดิจิทัล
[แก้] การแปลงเลขฐานสอง
ดูบทความหลักที่ การแปลงเลขฐาน