ประเทศยูเครน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
|||||
คำขวัญ: ไม่มี | |||||
เพลงชาติ: Shche ne vmerla Ukraina ("Ukraine's Glory Has Not Perished") |
|||||
เมืองหลวง | เคียฟ |
||||
เมืองใหญ่สุด | เคียฟ | ||||
ภาษาราชการ | ภาษายูเครน | ||||
รัฐบาล | ประชาธิปไตยระบบรัฐสภา | ||||
• ประธานาธิบดี • นายกรัฐมนตรี |
วิคตอร์ ยุชเชนโค วิคตอร์ ยานูโควิช |
||||
ได้รับเอกราช ประกาศเอกราช ลงประชามติ อดีต |
จาก สหภาพโซเวียต 24 กันยายน พ.ศ. 2534 1 ธันวาคม พ.ศ. 2534 สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน |
||||
เนื้อที่ - ทั้งหมด - พื้นน้ำ (%) |
603,700 กม.² (อันดับที่ 45) 233,090 ไมล์² น้อยมาก |
||||
ประชากร - 2549 ประมาณ - 2544 - ความหนาแน่น |
46,710,816[1] (อันดับที่ 26) 46,212,455 78/กม² (อันดับที่ 92) 202/ไมล์² |
||||
GDP (PPP) - รวม - ต่อประชากร |
2005 ค่าประมาณ 319.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 30) 6,800 ดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 83) |
||||
HDI (2546) | 0.766 (อันดับที่ 78) – กลาง | ||||
สกุลเงิน | ฮริฟเนียยูเครน (UAH ) |
||||
เขตเวลา - ฤดูร้อน (DST) |
EET (UTC+2) EEST (UTC+3) |
||||
รหัสอินเทอร์เน็ต | .ua | ||||
รหัสโทรศัพท์ | +380 |
ยูเครน (Ukraine) (ภาษายูเครน: Україна, Ukrayina ออกเสียง [ukraˈjina]; ภาษารัสเซีย: Украина) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ส่วนทางใต้จรดทะเลดำ
พื้นที่ประเทศยูเครนในคริสต์ศตวรรษที่ 9 เป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมสลาฟตะวันออกในยุคกลาง ซึ่งส่งผลให้เกิดรัฐที่มีอำนาจในแถบนั้นในชื่อ เคียฟรุส (Kievan Rus') อีกหลายศตวรรษหลังจากนั้นจึงถูกแบ่งไประหว่างกลุ่มอำนาจต่าง ๆ โดยเฉพาะรัสเซีย โปแลนด์ และจักรวรรดิออตโตมัน โดยมีเอกราชระยะสั้น ๆ ในช่วงปี พ.ศ. 2460-2464 อันเป็นผลมาจากการปฏิวัติรัสเซีย จากนั้นได้กลายเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2465 ชายแดนในปัจจุบันเพิ่งได้รับการสถาปนาเมื่อปี พ.ศ. 2497 ยูเครนเป็นเอกราชอีกครั้งหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534
สารบัญ |
[แก้] ประวัติศาสตร์
- (รอเพิ่มเติมข้อมูล)
[แก้] การเมือง
- (รอเพิ่มเติมข้อมูล)
[แก้] การแบ่งเขตการปกครอง
ยูเครนแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 24 จังหวัด (provinces - oblasts) 1 สาธารณรัฐปกครองตนเอง* (autonomous republic - avtonomna respublika) และ 2 เทศบาลนคร** (municipalities - misto) ได้แก่
1 | เชียร์คาซี | 10 | คเมลนิตสกี | 19 | ซูมืย |
2 | เชียร์นีฮิฟ | 11 | คีโรโวฮราด | 20 | เตียร์โนปิล |
3 | เชียร์นิฟต์ซี | 12 | เคียฟ | 21 | วินนิตเซีย |
4 | ไครเมีย* | 13 | ลูฮันสค์ | 22 | โวลิน |
5 | ดนีโปรเปตรอฟสค์ | 14 | ลวีฟ | 23 | ซาคาร์ปัตเตีย |
6 | โดเนตสค์ | 15 | มีโคลายิฟ | 24 | ซาโปริจเจีย |
7 | อีวาโน-ฟรังคิฟสค์ | 16 | โอเดสซา | 25 | จีโตมีร์ |
8 | คาร์คิฟ | 17 | ปอลตาวา | ||
9 | เคียร์ซอน | 18 | ริฟเน |
เทศบาลนครสองแห่งคือ เคียฟ และ เซวัสโตปอล ไม่ปรากฏในแผนที่
[แก้] ภูมิศาสตร์
- (รอเพิ่มเติมข้อมูล)
[แก้] เศรษฐกิจ
- (รอเพิ่มเติมข้อมูล)
[แก้] ประชากร
- (รอเพิ่มเติมข้อมูล)
[แก้] วัฒนธรรม
- (รอเพิ่มเติมข้อมูล)
กรีซ · โครเอเชีย · จอร์เจีย1 · สาธารณรัฐเช็ก · ซานมารีโน · เซอร์เบีย · ไซปรัส1 · เดนมาร์ก · ตุรกี2 · นอร์เวย์ · เนเธอร์แลนด์ · บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา · บัลแกเรีย · เบลเยียม · เบลารุส · โปรตุเกส · โปแลนด์ · ฝรั่งเศส · ฟินแลนด์ · มอนเตเนโกร · มอลโดวา · มอลตา · มาซิโดเนีย · โมนาโก · ยูเครน · เยอรมนี · รัสเซีย2 · โรมาเนีย · ลักเซมเบิร์ก · ลัตเวีย · ลิกเตนสไตน์ · ลิทัวเนีย · นครรัฐวาติกัน · สเปน · สโลวาเกีย · สโลวีเนีย · สวิตเซอร์แลนด์ · สวีเดน · สหราชอาณาจักร · ออสเตรีย · อันดอร์รา · อาเซอร์ไบจาน1 · อาร์เมเนีย1 · อิตาลี · เอสโตเนีย · แอลเบเนีย · ไอซ์แลนด์ · ไอร์แลนด์ · ฮังการี
1. ทางภูมิศาสตร์อยู่ในทวีปเอเชีย แต่มักถูกจัดอยู่ในทวีปยุโรป เนื่องจากมีวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน; 2. มีพื้นที่ทั้งในทวีปยุโรปและในทวีปเอเชีย
ประเทศยูเครน เป็นบทความเกี่ยวกับ ประเทศ เมือง หรือเขตการปกครองต่าง ๆ ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น ข้อมูลเกี่ยวกับ ประเทศยูเครน ในภาษาอื่น อาจสามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ด้านซ้ายมือ |